จิตวิทยาสำหรับครู

ETP511 จิตวิทยาสำหรับครู1.การเรียนรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ David Kolbการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ ตรง การอ่านหนังสือการดูวีดีทัศน์ การสังเกต ใคร่ครวญ เขียนบันทึกสิ่งที่เรียนรู้สรุปทฤษฎี (ตกผลึก)  mind mappingmodel การนำเสนอการนำสิ่งที่เรียนรู้ไป ประยุกต์ใช้เรียนรู้สิ่งไหนใช้ได้ สิ่งไหนต้องปรับปรุงการสนทนาพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้2.จิตวิทยาพัฒนาการพัฒนาการด้านความต้องการทางเพศพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาพัฒนาการทางจริยธรรมSigmund FreudLawrence KohlbergJean PiageJerome S. Brunerพัฒนาการด้านร่างกายRobert havighurstArnold Gesell4.พัฒนาการทางสังคม (เพิ่มเติม)พัฒนาการทางสังคม Erik H. Eriksonทฤษฎีแรงจูงใจ Abraham H.Maslow ขั้นที่ 2 วัยเริ่มต้น (Toddler period) อายุ 2-3 ปี : ขั้นที่มีความเป็นอิสระกับความละอายและสงสัยขั้นที่ 1 ระยะทารก (Infancy period) อายุ 0-2 ปี : ขั้นไว้วางใจและไม่ไว้วางใจผู้อื่นขั้นที่ 1 ความต้องการทางร่างกาย ขั้นที่ 2 ความต้องการความปลอดภัย ขั้นที่ 3 ระยะก่อนไปโรงเรียน (Preschool period) อายุ 3-6 ปี : ขั้นมีความคิดริเริ่มกับความรู้สึกผิดขั้นที่ 4 ระยะเข้าโรงเรียน (School period) อายุ 6-12 ปี : ขั้นเอาการเอางานกับความมีปมด้อยขั้นที่ 6 ระยะต้นของวัยผู้ใหญ่ (Early adult period) อายุ 20-40 ปี : ขั้นความใกล้ชิดสนิทสนมกับความรู้สึกเปล่าเปลี่ยว ขั้นที่ 5 ระยะวัยรุ่น (Adolescent period) อายุ 12-20 ปี : ขั้นการเข้าใจอัตลักษณะของตนเองกับไม่เข้าใจตนเองขั้นที่ 7 ระยะผู้ใหญ่ (Adult period) อายุ 40-60 ปี : ขั้นการอนุเคราะห์เกื้อกูลกับการพะว้าพะวงแต่ตัวเองขั้นที่ 8 ระยะวัยสูงอายุ (Aging period) อายุประมาณ 60 ปีขึ้นไป : ขั้นความมั่นคงทางจิตใจกับความสิ้นหวังพัฒนาการทางสังคม Alfed Adlerโครงสร้างบุคลิกภาพลำดับการเกิดปมเด่น - ปมด้อยประสบการณ์วัยเด็กลูกคนโตลูกคนกลางลูกคนเล็กข้อดี: มีความเป็นผู้ใหญ่ / ความรับผิดชอบ / ทะเยอทะยานช้อเสีย: เครียดง่าย / ขี้กังวล / นิยมความสมบูรณ์แบบข้อดี: เข้าสังคมเก่ง / ชอบแข่งขัน / ประนีประนอมเก่งช้อเสีย: ชอบเปรียบเทียบ / ชอบเอาชนะ / อาจดื้อรันข้อดี: ร่าเริง สดใส / เอาใจใส / ชอบเข้าสังคมช้อเสีย: เอาแต่ใจ / ไม่กล้าลงมือทำ / ชอบให้คนอื่นปกป้องลูกคนเดียวข้อดี: เข้ากับผู้ใหญ่ได้ดี / เป็นผู้ใหญ่ / เฉลียวฉลาดช้อเสีย: กดดันตัวเอง / จริงจัง / ไม่ค่อยคบวัยเดียวกันเด็กที่เลี้ยงดูแบบตามใจ (Spoiled Child)เด็กที่ถูกทอดทิ้ง (Neglected Child)เด็กที่ได้รับความรักความอบอุ่นอย่างสมบูรณ์ (Warm Child)เด็กที่มีปมด้อย เมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่จะมีความฝังใจผลมาจากประสบการณ์ต่างๆ ตั้งแต่วัยเด็กการเปรียบเทียบซึ่งกันและกัน จนกลายเป็นปมด้อย เกิดเป็นแรงผลักดันในการที่จะดิ้นรนเพื่อเอาชนะปมด้อยของตน เพื่อเป็นที่ยอมรับในสังคม ทฤษฎีตัวตน Carl Roger's3. ตัวตนที่มองเห็น (Self Concept) ภาพที่ตนเห็นเองว่าตนเป็นอย่างไร2. ตัวตนที่เป็นจริง (Real Self) ตามข้อเท็จจริง1. ตัวตนที่อุดมคติ (Ideal Self) ตัวตนที่อยากมีอยากเป็นโครงสร้างบุคลิกภาพขั้นที่ 3 ความต้องการความรักและการยอมรับ ขั้นที่ 4 ความต้องการนับถือตนเองและได้รับการเคารพจากผู้อื่น ขั้นที่ 5 ความต้องการรู้และเข้าใจตนเอง ขั้นที่ 6 ความต้องการเข้าถึงสุนทรียะความดีงามของชีวิต ขั้นที่ 7 ความต้องการเข้าถึงศักยภาพแห่งตน ขั้นที่ 8 ความต้องการเป็นบุคคลที่อุทิศตนเพื่อมวลมนุษยชาติ 3.จิตวิทยาการเรียนรู้1. ขั้นความพอใจอยู่บริเวณปาก (Oral)  0-1 ปี 2. ขั้นบริเวณทวารหนัก (Anus) ช่วงอายุ 1-3 ปี 3. ขั้นอวัยวะเพศ (Phallic) ช่วงอายุ 3-6 ปี 4. ขั้นก่อนวัยรุ่น (Latency) ช่วงอายุ 6-11 ปี  5. ขั้นวัยรุ่น: พัฒนาการในช่วงตั้งแต่วัยรุ่นถึงวัยผู้ใหญ่ซุปเปอร์อีโก้ (Super Ego) คือ บุคลิกภาพที่มนุษย์พัฒนาขึ้นจากค่านิยมและมาตรฐานจริยธรรมอีโก้ (Ego) คือ บุคลิกภาพที่มนุษย์พัฒนาขึ้น ให้สอดคล้องกับความเป็นจริงอิด (Id) คือ บุคลิกภาพส่วนที่เป็นจิตไร้สำนึก กระทำตามความพอใจโครงสร้างบุคลิกภาพ  ระดับที่ 1 ระดับก่อนมีจริยธรรม: ได้รางวัล / ได้รับโทษ  ระดับที่ 2 ระดับจริยธรรมตามกฎเกณฑ์สังคม  ระดับที่ 3 ระดับจริยธรรมเหนือกฎเกณฑ์สังคม   ขั้นที่1 Sensorimotor (แรกเกิด - 2 ขวบ) สัมผัสและการเคลื่อนไหวของอวัยวะต่างๆ ขั้นที่2 Preoperational (อายุ18 เดือน - 7 ปี) เริ่มด้วยการพูดเป็นประโยคและรู้จักคิดขั้นที่3 Concrete Operations (อายุ 7 - 11 ปี) สร้างกฎเกณฑ์ และตั้งกฎเกณฑ์ในสังคมขั้นที่4 Formal Operations (อายุ 12 ปีขึ้นไป) เริ่มคิดเป็นผู้ใหญ่ 1. ขั้นการกระทำ (Enactive Stage) เด็กเรียนรู้จากการกระทำและการสัมผัส 2. ขั้นคิดจินตนาการหรือสร้างมโนภาพ (Piconic Stage) เด็กเกิดความคิดจากการรับรู้ตามความเป็นจริง และการคิดจากจินตนาการด้วย 3. ขั้นใช้สัญลักษณ์และคิดรวบยอด (Symbolic Stage) เด็กเริ่มเข้าใจเรียนรู้ความ สัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ พฤติกรรมการเรียนรู้1.พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) เกี่ยวกับสติปัญญา ความรู้2.จิตพิสัย (Affective Domain) พฤติกรรมด้านจิตใจค่านิยม ความรู้สึก ความเชื่อ  3.ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) ความสามารถในการปฏิบัติงานไองค์ประกอบสำคัญของการเรียนรู้1. แรงขับ (Drive) เป็นความต้องการที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคล2. สิ่งเร้า (Stimulus) เป็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ต่างๆ 3. การตอบสนอง (Response) เป็นปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมต่างๆ ที่แสดงออกมาเมื่อบุคคลได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า
90