กระบวนการจัดการเรียนรู้และการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
97
กระบวนการจัดการเรียนรู้และการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
Tags:
Similar Mind Maps
Outline


หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา
• มาตรา 24(5)ใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ • มาตรา 30 ครูทำวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้

ความสำคัญต่อการทำวิจัย
เป็นแนวทางในการเก็บรวบรวมคำตอบและตอบคำถามการวิจัย
ให้ระเบียบวิธีวิจัยที่หลากหลาย
ป้องกันการใช้ระเบียบวิธีวิจัยที่ไม่ถูกต้อง
ปรัชญาการวิจัย→ปรัชญาประยุกต์
วิชาที่ว่าด้วยการค้นคว้าความจริงหรือความรู้ด้วยกระบวนการที่เชื่อถือได้
ปรัชญา = วิชาที่ว่าด้วยหลักความรู้และหลักความจริง
การวิจัย = การศึกษาค้นคว้าหาความรู้อย่างเป็นระบบ


ปฎิฐานนิยม
เชื่อว่าข้อเท็จจริงทางสังคมเป็นไปตามกฏธรรมชาติ
พิสูจน์ด้วยกฏธรรมชาติ
ข้อมูลเชิงประจักษ์
แสวงหาหลักฐานที่ปรากฏ
ทดสอบสมมติฐาน/ทฤษฎีที่มีอยู่แล้ว
ปรากฏการณ์นิยม
เชื่อว่าสังคมมนุษย์เคลื่อนไหวตลอดเวลา
ไม่จำเป็นต้องเป็นไปตามกฏธรรมชาติ
ข้อเท็จจริงเกิดขึ้นเพราะอิทธิพลทางสังคม

แบบอนุมาน/นิรนัย
ใหญ่→เล็ก
ปัญหาการวิจัย
วิจัยเชิงปริมาณ
ทฤษฎี
สมมติฐาน
เก็บข้อมูล
สกัดเหตุผล/สร้างข้อมูล
สรุปผลยืนยัน
ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์
เน้นข้อมูลเชิงประจักษ์

แบบอุปมาน/อุปนัย
เล็ก→ใหญ่
ปัญหาการวิจัย
วิจัยเชิงคุณภาพ
เก็บข้อมูลหลายกรณีศึกษา
วิเคราะห์ประมวล
ใคร่ครวญประมวลเหตุผล
สร้างสมมติฐาน
สรุปสร้างทฤษฎี
ใช้วิธีการแสวงหาความรู้ใหม่และสร้างสมมติฐานใหม่
เน้นข้อมูลด้านความรู้สึกนึกคิด โลกทัศน์และความหมาย


กระบวนการหาวิธีการใหม่ ๆ มาใช้ในการเรียนการสอน เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดจากการสอนในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน
เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้ตรงตามเป้าหมายการเรียนรู้ และปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนของผู้สอนอย่างต่อเนื่อง
เพื่อแก้ปัญหาการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนบางกลุ่ม
เพื่อทำสิ่งที่ดีอยู่แล้วให้ดียิ่งขึ้น
เพื่อให้ผู้เรียนฝึกการคิด การวางแผน การดำเนินงาน และหาเหตุผลโดยบูรณาการเพื่อให้เกิดประสบการณ์กับการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง
ขั้นตอนการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 ทบทวนกระบวนการสอน เพื่อค้นหาปัญหาการวิจัย เรียงลำดับจากความรุนแรงและความเร่งด่วนของปัญหา
ขั้นที่ 2 กำหนดปัญหาที่ต้องการทำและวัตถุประสงค์
ขั้นที่ 3 ศึกษางานวิจัยต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางจะทำให้เกิดกรอบความคิดวิจัยที่ชัดเจน
ขั้นที่ 4 เลือกวิธีการวิจัยที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ขั้นที่ 5 ทําความเข้าใจลักษณะข้อมูล และแหล่งข้อมูล
ขั้นที่ 6 จัดเตรียมวิธีการ / เครื่องมือที่จะใช้เก็บรวบรวมข้อมูล
ขั้นที่ 7 วิเคราะห์ข้อมูล / รายงานผล และการนําผลไปใช้
ขั้นที่ 8 คิดปัญหาที่จะทําวิจัยเพื่อพัฒนาในแง่มุมอื่น
ลักษณะสำคัญของการวิจัย
เป็นการศึกษาค้นคว้าข้อเท็จจริง
เป็นกระบวนการ/การกระทำที่เป็นระเบียบ มีขั้นตอน เป็นไปตามเหตุผลทางวิทยาศาสตร์
มีจุดมุ่งหมายแน่นอน เน้นต้องการรู้อะไร ต้องทำอะไร

ไตรยางศ์การศึกษา
สิ่งที่ผู้สอนต้องคำนึง
มาตรฐานคุณภาพการจัดการเรียนรู้
ต้องใส่ใจผู้เรียน
ปัญหา/อุปสรรค
การแก้ไขกิจกรรม
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิเคราะห์ปัญหาการเรียนรู้
ออกแบบและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้
ทดลองใช้นวัตกรรมการเรียนรู้
เก็บรวบรวมข้อมูล
วิเคราะห์ผลการใช้นวัตกรรม
ประเภทของการวิจัย
• การวิจัยเชิงสำรวจ • การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ • การวิจัยเชิงทดลอง • การศึกษารายกรณี

การวิจัยมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
จรรยาบรรณ คือ หลักความพฤติอันเหมาะสมแสดงคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบอาชีพ
นักวิจัย คือ ผู้ที่ดำเนินการค้นคว้าหาความรู้อย่างเป็นระบบ เพื่อตอบประเด็นที่สงสัย โดยมีระเบียบวิธีอันเป็นที่ยอมรับ
จรรยาบรรณนักวิจัย หมายถึง หลักเกณฑ์ควรประพฤติของนักวิจัยทั่วไป เพื่อให้การดำเนินงานวิจัยตั้งอยู่บนพื้นฐานของจริยธรรมและหลักวิชาการที่เหมาะสม
แนวทางปฏิบัติสำหรับนักวิจัยมีทั้งหมด 9 ข้อ
ข้อ 1 ซื่อสัตย์
ข้อ 2 ตระหนักถึงพันธกรณี
ข้อ 3 มีพื้นฐานความรู้
ข้อ 4 มีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่วิจัย
ข้อ 5 เคารพศักดิ์ศรีและสิทธิ
ข้อ 6 มีอิสระทางความคิด
ข้อ 7 นําผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ
ข้อ 8 รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและพร้อมปรับปรุงแก้ไข
ข้อ 9 มีจิตสำนึกที่จะอุทิศกำลังสติปัญญาในการทำวิจัย
