Mind Map Gallery ภาษาและวัฒนธรรม
无数据
พีรวัส ปุ้ยพันธวงศ์ ห้อง58 เลขที่16 ภาษาและวัฒนธรรม
Edited at 2021-06-02 06:09:04ภาษาและวัฒนธรรม
1. เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม
แบบแผนการมีชีวิตของมนุษย์ในวัฒนธรรมหนึ่งๆที่แตกต่างกับวัฒนธรรมอื่นๆ
เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาติไทยนั้นมีทั้งที่ เป็นรูปธรรม
เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่เป็นนามธรรม
ความไม่กีดกันคนต่างชาติต่างภาษา
เสรีภาพทางศาสนา
ความรักสงบ
ประนีประนอม
เกรงใจ
คํานึงกาลเทศะ
รักสนุก
มีนํ้าใจ
เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ความ
2. ความหมาย
แบบแผนชีวิต
ระบบการดำเนินชีวิต
เครื่องอุปโภค บริโภค
สถาบัน
ประเพณี
ค่านิยม
ศิลปะและความรู้สึก
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์ท าให้เกิดขึ้นเพื่อประโยชน์ของสังคมตน สิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติไม่นับเป็นวัฒนธรรม
3. คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม
สังคม
เป็นคำที่สื่อความหมายกว้างทั้งในความหมายที่ เป็นรูปธรรมและนามธรรม
ความหมายเชิงรูปธรรม
ชุมชนหรือกลุ่มคนที่อาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกันเช่นซอยที่ฉันอยู่เป็นสังคมของคนรุ่นใหม่
ความหมายเชิงนามธรรม
ความนึกคิดค่านิยมของคนกลุ่มหนึ่ง
สถาบัน
องค์การที่รับผิดชอบเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ
ประเพณี
พฤติกรรมที่ยึดถือปฏิบัติมาตั้งแต่รุ่นบรรพบุรุษจน ถึงปัจจุบัน
ค่านิยม
ความรู้สึกพึงพอใจรังเกียจหรือละอายต่อการ กระทำใดๆหรือพฤติกรรมของคนกลุ่มหนึ่งซึ่งอาจ เปลี่ยนแปลงได้ตามกาลเวลา
4. ความหลากหลายของวัฒนธรรม
ที่ตั้ง
มนุษย์อาศัยในพื้นที่ที่มีภูมิประเทศภูมิอากาศต่าง กันจะมีประเพณีวัฒนธรรมที่ต่างกัน
ความอุดมสมบูรณ์ความแร้นแค้น
มนุษย์จะมีลักษณะนิสัยค่านิยมแบบแผนการดำเนินชีวิตแตกต่างกันตามสภาพความอุดมสมบูรณ์หรือ ความแร้นแค้นของที่อยู่
กลุ่มชนแวดล้อม
วัฒนธรรมของกลุ่มชนได้รับอิทธิพลของวัฒนธรรมจากกลุ่มชนที่อยู่แวดล้อมหรือใกล้เคียง
นักปราชญ์หรือประมุขของกลุ่มชน
กลุ่มชนบางกลุ่มมีนักปราชญ์จำนวนมากเผยแพร่ ความรู้และบางกลุ่มมีประมุขที่ดีเมื่อเกิดวิกฤต การณ์อย่างใดอย่างหนึ่งขึ้นก็สามารถป้องกันศัตรู และคิดสร้างสรรค์ความเจริญให้แก่กลุ่มชน ของตน
5. ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรม
ภาษาสร้างธำรงและพัฒนาวัฒนธรรม
วิถีชีวิตของคนสังคมหนึ่งๆ ก่อกำเนิดขึ้นมา ได้เพราะคนในสังคมมีภาษาเป็นเครื่อง มือในการสื่อความคิดที่เกี่ยวกับการดำเนิน ชีวิตในแง่ต่างๆ
ภาษาสะท้อนวัฒนธรรม
วัฒนธรรมหรือระบบชีวิตของหมู่ชนบันดาลให้ ภาษาพัฒนาไปตามลักษณะของสถาบันและค่า นิยมของหมู่ชนนั้นเมื่อพิจารณาภาษาไทย
สังคมไทยให้ความสำคัญกับลำดับฐานะบุคล
ลุง ป้า น้า อา พี่ชาย น้องชาย พี่สาว น้องสาว
คำราชาศัพท์
ใช้สำหรับบุคคลระดับต่างๆสะท้อนให้เห็นถึง ค่านิยมลดหลั่นชั้นเชิงในวัฒนธรรมอย่างชัดเจน
ภาษาไทยให้ความสำคัญกับชื่อของบุคคลโดยไม่นำมาเรียกพรํ่าเพรื่อ
ภาษาไทยให้ความสำคัญกับวัฒนธรรมต่างชาติ ยินดีรับวัฒนธรรมต่างชาติเข้ามาประสมกลมกลืน กับวัฒนธรรมไทยอย่างมีเหตุผล
ภาษาไทยมีความละเอียดในการกล่าวถึงเรื่องใกล้ตัวแสดงออกผ่านคำเรียกญาติคำขยายต่างๆ
คนไทยช่างสังเกตและให้ความสำคัญกับการ จำแนกสิ่งต่างๆรอบตัว
คนไทยพิถีพิถันกับภาษามักใช้ภาษาให้เกิดเสียง คล้องจองเพื่อความไพเราะและชอบเล่นสนุกกับ ภาษา
คนไทยให้ความสำคัญกับวัฒนธรรมต่างกลุ่มชน และยินดีรับวัฒนธรรมของกลุ่มชนอื่นมาใช้
6. การใช้ภาษาสัมพันธ์กับวัฒนธรรม
การใช้คำราชาศัพท์
วัฒนธรรมไทยมีการแบ่ง ลําดับชนชั้นลดหลั่นกันไปการใช้ภาษาที่สัมพันธ์ กับวัฒนธรรมข้อนี้คือการใช้ราชาศัพท์หรือการใช้ ภาษาให้เหมาะสมกับฐานะบุคคล
ระดับภาษา
วัฒนธรรมไทยให้ความสำคัญแก่กาลเทศะมีค่า นิยมว่าต้องพิจารณาความเหมาะสมว่าสิ่งใดควร หรือไม่ควรในสถานการณ์หนึ่ง
คำรื่นหู
ในวัฒนธรรมหนึ่งๆย่อมมีสิ่งต้องห้ามหรือสิ่งที่ไม่ ควรกล่าวถึงคำเรียกสิ่งต้องห้ามเหล่านั้นจึงมักเป็นคำต้องห้ามไปด้วย
7. ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับภาษาและวัฒนธรรม
ภาษามาตรฐาน
ชาติทุกชาติมีกลุ่มคนที่พูดภาษาต่างกันสำเนียงต่างกันอาศัยอยู่ร่วมกันในชาติด้วยเหตุนี้จึงมีการ สถาปนาภาษาใดภาษาหนึ่งเป็นภาษากลางสำหรับใช้เป็นสื่อกลางในการติดต่อราชการ
ภาษาถิ่น
ภาษาที่ใช้สื่อสารกันในท้องถิ่นต่างๆภาษาถิ่นแม้ จะไม่ใช่ภาษามาตรฐานที่ใช้เป็นสื่อกลางในการ สื่อสารของคนในชาติ
พีรวัส ปุ้ยพันธวงศ์์ ห้อง58 เลขที่16