MindMap Gallery หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
advantages and disadvantages of technology
College Computer Science Teachers
CT soft control techniques
Integrated Call-Bell System
Computer Science
The Internet Business School - Simon Coulson
PHP the Right way
Essential DevOps Tools
Java Topics
MPLS Training
ความหมาย
คอมพิวเตอร์
คือ เครื่องคำนวณในรูปของ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรับข้อมูล และคำสั่ง ผ่านอุปกรณ์รับข้อมูล
ระบบคอมพิวเตอร์
คือ องค์ประกอบหลักที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์
ระบบคอมพิวเตอร์นี้ประกอบไปด้วยองค์ประกอบหลักที่สำคัญคือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) บุคลากร (People ware)
ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์หรือชิ้นส่วนของคอมพิวเตอร์ ที่มีวงจรไฟฟ้า อยู่ภายในเป็นส่วนใหญ่สามารถจับต้องได้
ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดค าสั่งท าหน้าที่ควบคุมให้ ฮาร์ดแวร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ท างานตามผู้ใช้งานต้องการ
บุคลากร หมายถึง บุคลากรที่ท างานเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ท างานตามที่ต้องการ
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่นำมาประกอบกันแล้วจะได้คอมพิวเตอร์ที่สมบูรณ์ 1 เครื่อง ประกอบด้วยองค์ประกอบที่สำคัญหลายส่วนดังนี้
รายชื่ออุปกรณ์ 1.case 2.แป้นพิมพ์ Keyboard 3.เมาส์ Mouse 4.จอภาพ Monitor 5.ลำโพง Speaker 6.หน่วยประมวลผลกลาง Central Processing Unit 7.หน่วยความจ าอ่านอย่างเดียว Rom (Read Only Memory) 8.หน่วยความจ าเข้าถึงโดยการสุ่ม Ram (Random Access Memory) 9.การ์ดแสดงผล Graphic Card 10.การ์ดเสียง Sound Card 11.การ์ดแลน LAN Card 12.ฮาร์ดดิสก์
ส่วนประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ (General purpose Computer) คือ คอมพิวเตอร์ที่ถูกออกแบบให้ประยุกต์ใช้งานได้หลายอย่าง คือ ระบบจะทฎงานตามคฎสั่งที่เขียนขึ้นมา และยังเก็บโปรแกรมทางด้าน ต่างๆ ไว้ในเครื่องเดียวกันได้
หลักการท างานของคอมพิวเตอร์จะเป็นไปตามที่โปรแกรมได้ ก าหนดไว้ โดยตัวเครื่องคอมพิวเตอร์หรือที่เรียกว่า ฮาร์ดแวร์ จะมีส่วนประกอบสฎคัญขั้นพื้นฐาน 5 หน่วย ซึ่ง แต่ละหน่วยจะมีหลักการฎางาน ดังนี้
1.หน่วยรับข้อมูล (input unit) ทำหน้าที่รับข้อมูลมาจัดเก็บที่หน่วยความจำหลักของคอมพิวเตอร์ จากนั้นเมื่อมีคำสั่งให้ประมวลผลข้อมูลที่ถูกจัดเก็บไว้ที่หน่วยความจำจะถูกส่งไปยังหน่วยประมวลผล
2.หน่วยประมวลผลกลาง (central processing unit) ทำหน้าที่ประมวลผลให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ จากนั้น ผลลัพธ์จะถูกส่งไปจัดเก็บที่หน่วยความจำหลัก
3.หน่วยความจำหลัก (main memory) ทำหน้าที่จัดเก็บข้อมูลและโปรแกรมต่างๆ ในขณะที่เครื่อง คอมพิวเตอร์เปิดอยู่เท่านั้น ถ้าปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลหรือ โปรแกรมนั้นจะสูญหายไป
4.หน่วยความจำรอง (secondary storage) ทำหน้าที่จัดเก็บข้อมูลและโปรแกรมต่างๆ เพื่อนำมาใช้อีกครั้งในภายหลังได้แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลและโปรแกรมที่จัดเก็บไว้จะไม่สูญหาย
5.หน่วยแสดงผล (output unit) ทำหน้าที่นำผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลมาแสดงผลหรือจัดเก็บไว้ที่หน่วยความจำรอง
คอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้
ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีความสามารถ ในการประมวลผลสูงที่สุด โดยทั่วไปสร้างขึ้นเป็นการเฉพาะ เพื่องานด้านวิทยาศาสตร์ที่ต้องการการประมวลผลซับซ้อน
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีส่วนความจำและความเร็วน้อยลง กว่าซุปเปอร์คอมพิวเตอร์สามารถใช้ข้อมูลและคำสั่งของเครื่องรุ่นอื่นในตระกูล เดียวกันได้โดยไม่ต้องดัดแปลงแก้ไข สามารถทำงานในระบบเครือข่ายได้เป็น อย่างดี
มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer) เหมาะกับธุรกิจและหน่วยงานที่มีขนาดเล็ก โดยมีลักษณะพิเศษใน การทำงานร่วมกับอุปกรณ์ประกอบรอบข้างที่มีความเร็วสูงได้
คอมพิวเตอร์แบบแอนะล็อก เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ในการวัดข้อมูลแบบต่อเนื่อง
คอมพิวเตอร์แบบดิจิทัล เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการประมวลผลแบบ ไม่ต่อเนื่อง
คอมพิวเตอร์แบบลูกผสม (Hybrid Computer) เป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่รวมเอาความสามารถของเครื่อง คอมพิวเตอร์ 2 แบบตัวอย่างของระบบประเภทนี้ ได้แก่ การใช้ แอนะลอกในการวัดการทำงานของหัวใจ อุณหภูมิและความดันต่างๆ ของคนไข้จากนั้นแปลงออกเป็นตัวเลขเพื่อส่งไปให้คอมพิวเตอร์แบบดิ จิตัลทำการประมวลผลและให้ผลลัพธ์ตามที่โปรแกรมกำหนดไว้