MindMap Gallery กระบวนการจัดการเรียนรู้และการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
กระบวนการจัดการเรียนรู้และการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
use of ppen source intelligenc
semantic map
sexua assault
theological conflict
open education
6 steps of goal setting and achieving
How to Make Postitive Effects on Communication
Concepts about Money
Careers in Education and Training
Adapted Physical Education Specialists
การวิจัย (Research)
พรบ. การศึกษา พ.ศ. 2542 แก้ไข 1 พ.ศ. 2554
หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา • มาตรา 24(5)ใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ • มาตรา 30 ครูทำวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
ปรัชญา (Phllosophy)
ความสำคัญต่อการทำวิจัย
เป็นแนวทางในการเก็บรวบรวมคำตอบและตอบคำถามการวิจัย
ให้ระเบียบวิธีวิจัยที่หลากหลาย
ป้องกันการใช้ระเบียบวิธีวิจัยที่ไม่ถูกต้อง
ปรัชญาการวิจัย→ปรัชญาประยุกต์
วิชาที่ว่าด้วยการค้นคว้าความจริงหรือความรู้ด้วยกระบวนการที่เชื่อถือได้
ปรัชญา = วิชาที่ว่าด้วยหลักความรู้และหลักความจริง
การวิจัย = การศึกษาค้นคว้าหาความรู้อย่างเป็นระบบ
คือ กระบวนการในการแสวงหาความรู้ นำมาวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ มีแบบแผน และมีความน่าเชื่อถือ
วิธีการแสวงหาความจริงตามแนวคิด
ปฎิฐานนิยม
เชื่อว่าข้อเท็จจริงทางสังคมเป็นไปตามกฏธรรมชาติ
พิสูจน์ด้วยกฏธรรมชาติ
ข้อมูลเชิงประจักษ์
แสวงหาหลักฐานที่ปรากฏ
ทดสอบสมมติฐาน/ทฤษฎีที่มีอยู่แล้ว
ปรากฏการณ์นิยม
เชื่อว่าสังคมมนุษย์เคลื่อนไหวตลอดเวลา
ไม่จำเป็นต้องเป็นไปตามกฏธรรมชาติ
ข้อเท็จจริงเกิดขึ้นเพราะอิทธิพลทางสังคม
วิธีแสวงหาความรู้
แบบอนุมาน/นิรนัย
ใหญ่→เล็ก
ปัญหาการวิจัย
วิจัยเชิงปริมาณ
ทฤษฎี
สมมติฐาน
เก็บข้อมูล
สกัดเหตุผล/สร้างข้อมูล
สรุปผลยืนยัน
ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์
เน้นข้อมูลเชิงประจักษ์
แบบอุปมาน/อุปนัย
เล็ก→ใหญ่
วิจัยเชิงคุณภาพ
เก็บข้อมูลหลายกรณีศึกษา
วิเคราะห์ประมวล
ใคร่ครวญประมวลเหตุผล
สร้างสมมติฐาน
สรุปสร้างทฤษฎี
ใช้วิธีการแสวงหาความรู้ใหม่และสร้างสมมติฐานใหม่
เน้นข้อมูลด้านความรู้สึกนึกคิด โลกทัศน์และความหมาย
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
กระบวนการหาวิธีการใหม่ ๆ มาใช้ในการเรียนการสอน เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดจากการสอนในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน
เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้ตรงตามเป้าหมายการเรียนรู้ และปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนของผู้สอนอย่างต่อเนื่อง
เพื่อแก้ปัญหาการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนบางกลุ่ม
เพื่อทำสิ่งที่ดีอยู่แล้วให้ดียิ่งขึ้น
เพื่อให้ผู้เรียนฝึกการคิด การวางแผน การดำเนินงาน และหาเหตุผลโดยบูรณาการเพื่อให้เกิดประสบการณ์กับการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง
ขั้นตอนการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 ทบทวนกระบวนการสอน เพื่อค้นหาปัญหาการวิจัย เรียงลำดับจากความรุนแรงและความเร่งด่วนของปัญหา
ขั้นที่ 2 กำหนดปัญหาที่ต้องการทำและวัตถุประสงค์
ขั้นที่ 3 ศึกษางานวิจัยต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางจะทำให้เกิดกรอบความคิดวิจัยที่ชัดเจน
ขั้นที่ 4 เลือกวิธีการวิจัยที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ขั้นที่ 5 ทําความเข้าใจลักษณะข้อมูล และแหล่งข้อมูล
ขั้นที่ 6 จัดเตรียมวิธีการ / เครื่องมือที่จะใช้เก็บรวบรวมข้อมูล
ขั้นที่ 7 วิเคราะห์ข้อมูล / รายงานผล และการนําผลไปใช้
ขั้นที่ 8 คิดปัญหาที่จะทําวิจัยเพื่อพัฒนาในแง่มุมอื่น
ลักษณะสำคัญของการวิจัย
เป็นการศึกษาค้นคว้าข้อเท็จจริง
เป็นกระบวนการ/การกระทำที่เป็นระเบียบ มีขั้นตอน เป็นไปตามเหตุผลทางวิทยาศาสตร์
มีจุดมุ่งหมายแน่นอน เน้นต้องการรู้อะไร ต้องทำอะไร
กระบวนการจัดการเรียนรู้ และการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
ไตรยางศ์การศึกษา
สิ่งที่ผู้สอนต้องคำนึง
มาตรฐานคุณภาพการจัดการเรียนรู้
ต้องใส่ใจผู้เรียน
ปัญหา/อุปสรรค
การแก้ไขกิจกรรม
วิเคราะห์ปัญหาการเรียนรู้
ออกแบบและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้
ทดลองใช้นวัตกรรมการเรียนรู้
เก็บรวบรวมข้อมูล
วิเคราะห์ผลการใช้นวัตกรรม
ประเภทของการวิจัย
• การวิจัยเชิงสำรวจ • การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ • การวิจัยเชิงทดลอง • การศึกษารายกรณี
จรรยาบรรณนักวิจัย และ แนวทางปฏิบัติ
การวิจัยมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
จรรยาบรรณ คือ หลักความพฤติอันเหมาะสมแสดงคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบอาชีพ
นักวิจัย คือ ผู้ที่ดำเนินการค้นคว้าหาความรู้อย่างเป็นระบบ เพื่อตอบประเด็นที่สงสัย โดยมีระเบียบวิธีอันเป็นที่ยอมรับ
จรรยาบรรณนักวิจัย หมายถึง หลักเกณฑ์ควรประพฤติของนักวิจัยทั่วไป เพื่อให้การดำเนินงานวิจัยตั้งอยู่บนพื้นฐานของจริยธรรมและหลักวิชาการที่เหมาะสม
แนวทางปฏิบัติสำหรับนักวิจัยมีทั้งหมด 9 ข้อ
ข้อ 1 ซื่อสัตย์
ข้อ 2 ตระหนักถึงพันธกรณี
ข้อ 3 มีพื้นฐานความรู้
ข้อ 4 มีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่วิจัย
ข้อ 5 เคารพศักดิ์ศรีและสิทธิ
ข้อ 6 มีอิสระทางความคิด
ข้อ 7 นําผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ
ข้อ 8 รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและพร้อมปรับปรุงแก้ไข
ข้อ 9 มีจิตสำนึกที่จะอุทิศกำลังสติปัญญาในการทำวิจัย
การวิจัยแบบผสม (Mixed Method)