MindMap Gallery ชนิดของคำ
คำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำบุพบท คำอุทาน
Chinese HW
Mastering Portuguese Grammar: The Structure of Sentences Explained
Understanding Human vs. Animal Communication: Insights from Linguistics
Mastering Indonesian Language Compositions: Types and Structures
Exploring the Richness of Portuguese: From Grammar to Literature
A Guide to Orthographic Rules
Essential Functions of Subjects and Predicates in Portuguese Grammar
Mastering Portuguese Grammar: A Guide to Sentence Structure and Syntax
Exploring the Evolution of Bahasa Indonesia
"Mastering Spanish Grammar: Vocabulary, Adjectives, and Orthography Essentials"
ชนิดของคำ
1. คำนาม
1. สามานยนาม
คน
นก
ม้า
เรือ
รถ
ใช้เรียกชื่อทั่วไป
2. วิสามานยนาม
กรุงเทพ
สมศรี
อังกฤษ
ใช้เรียกชื่อเฉพาะ
3. สมุหนาม
คณะรัฐมนตรี
กระทรวงการคลัง
ค่ายลูกเสือ
คำนามที่ใช้เป็นชื่อ หมวด หมู่ กอง คณะ อยู่หน้านาม
4. ลักษณะนาม
กิ่ง
ขอน
ฉบับ
บาน
นามที่ใช้บอกลักษณะของนาม เพื่อให้รู้สัดส่วนรูปพรรณสัณฐาน
5. อาการนาม
การเดิน
การเล่น
ความดี
ความเลว
ความรู้
คำนามซึ่งเกิดจากคำกริยา หรือคำวิเศษณ์ มีคำว่า การ และ ความ นำหน้า
2. คำสรรพนาม
1. บุรุษสรรพนาม
บุรุษที่1 เช่น ฉัน
บุรุษที่2 เช่น เธอ แก
บุรุษที่3 เช่น ท่าน เขา
สรรพนามที่ใช้แทนคำนามในการพูดจา มี3 พวก
2. ประพันธสรรพนาม
ที่
ซึ่ง
อัน
สรรพนามที่ใช้แทนคำนามซึ่งอยู่ข้างหน้า
3. ปฤจฉาสรรพนาม
ใคร
อะไร
ไหน
ผู้ใด
สิ่งไร ฯลฯ
คำสรรพนามที่ใช้แทนคำนาม และเป็นคำถาม
4. วิภาคสรรพนาม
ต่าง
บ้าง
กัน
คำที่ใช้แทนนามเพื่อแยกนามนั้นออกเป็นส่วนๆ
5. นิยมสพรรนาม
นี่
นี้
โน้น
นั่น
คำที่ใช้แทนคำนามเพื่อบอกความชัดเจน
3. คำกริยา
1. อกรรมกริยา
นั่ง ยืน เดิน นอน
บิน
หัวเราะ
กริยาที่ไม่ต้องการกรรม
2. สกรรมกริยา
อ่าน เขียน
ตี กิน
จับ ไล่
กริยาที่ต้องการกรรมมารับ
3. วิกตกรรมกริยา
เหมือน คล้าย
เท่า คือ
ดัง
กริยาที่ไม่สมบูรณ์ในตัวเอง ต้องอาศัยคำนาม สรรพนาม หรือคำวิเศษณ์มาเติมข้างหลัง จึงจะได้ใจความสมบูรณ์
4. กริยานุเคราะห์
คง เคย ควร
จะ จง จัก
พึง ย่อม ยัง
กำลัง ชะรอย น่า
กริยาที่ใช้ประกอบหรือช่วยกริยาที่สำคัญในประโยค
4. คำบุพบท
1. คำบุพบทที่ไม่เชื่อมคำกับคำอื่น
อันว่า
ดูก่อน
แต่แน่ะ
ช้าแต่
ได้แก่ คำนำหน้า คำทักทายในบทอาลปนะ (คำที่ใช้เรียกร้องผู้ที่จะพูดด้วย)
2. บุพบทที่เชื่อมกับคำอื่น
บุพบทนำหนัาบทกรรม
ยัง
สู้
แก่
ตลอด
บุพบทนำหนัาบทอื่นในฐานะเครื่องใช้หรือติดต่อกัน
โดย
ด้วย
ตาม
กับ
บพบทนำหนัาบทอื่นในฐานะเป็นผู้รับ
เพื่อ
ต่อ
แด่
เฉพาะ
บุพบทนำหน้าบทอื่นเพื่อบอกที่มาหรือต้นเหตุ
แต่
จาก
กว่า
เหตุ
ตั้งแต่
บุพบทนำหน้าบอกเวลา
เมื่อ
ณ
จน
บุพบทนำหน้าบอกสถานที่
ใต้ บน
ชิด ริม
ที่ ใกล้
บุพบทที่นำหน้าคำนาม สรรพนาม กริยาสภาวมาลา
5. คำอุทาน
1. อุทานบอกอาการ
1. อาการร้องเรียก หรือบอกให้รู้ตัว
นี่แนะ
เฮ้ย
โว้ย ฯลฯ
2. อาการโกรธเคือง
ชิ ๆ
ชะ ๆ
เหม่
ดูดู๋ ฯลฯ
3. อาการประหลาดหรือตกใจ
อ๊ะ
เออแน่
แม่เจ้า โว้ย ฯลฯ
4. อาการสงสัย หรือปลอบโยน
เจ้าเอ๋ย
อนิจจา
พุทโธ่ ฯลฯ
5. อาการเข้าใจหรือรับรู้
เออ
เออน่ะ
อ้อ ฯลฯ
6. อาการเจ็บปวด
โอย
โอ้ย ฯลฯ
7. อาการสงสัยหรือไต่ถาม
หา
หือ
หนอ ฯลฯ
8. อาการห้ามหรือทักท้วง
ไฮ้!
หื้อหือ!
ฮ้า!
9. อาการจากสิ่งธรรมชาติ
ปัง
ปึง
ตูม
โครม ฯลฯ
2. อุทานเสริมบท
ไม่ลืมหูลืมตา
เสื่อสาด
ดีอกดีใจ
ผู้หญิงยิงเรือ
อาบน้ำอาบท่า
อยู่บ้านอยู่ช่อง
6. คำวิเศษณ์
1. ลักษณวิเศษณ์
บอกชนิด
บอกขนาด
บอกสัณฐาน
บอกสี
บอกเสียง
บอกกลิ่น
บอกรส
บอกสัมผัส
บอกอาการ
คำที่ใช้ประกอบคำอื่นเพื่อบอกลักษณะ ของคำนั้น ๆ โดยมากใช้ประกอบคำนาม คำสรรพนามที่ใช้ ประกอบคำกริยาและกริยาวิเศษณ์มีน้อย
2. กาลวิเศษณ์
3. สถานวิเศษณ์
4. ประมาณวิเศษณ์
5. ปฤจฉาวิเศษณ์
6. นิยมวิเศษณ์
7. อนิยมวิเศษณ์
8. ประติชญาวิเศษณ์
9. ประติเสธวิเศษณ์
10. ประพันธวิเศษณ์
7. คำเชื่อม
Sub Topic