MindMap Gallery Psychiatry map
Psychiatry Mind Map Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders (DSM-5)
Edited at 2021-07-24 18:22:50Psychiatry DSM-5
Neurodevelopmenetal disorders
Schizophrenia Spectrum & other psychotic disorders
Delusional disorder
Diagnostic Criteria A : มีdelusionอย่างน้อย 1 เรื่อง ในระยะเวลา 1 เดือนหรือมากกว่านั้น B : อาการไม่เข้ากับ criteria A ของ Schizophrenia (ถ้ามีhallucination ต้องไม่เด่นและrelateกับอาการdelusion) C :ไม่เสีย function ชัดเจนและพฤติกรรมก็ไม่ประหลาดเกินไป D : ถ้า manic หรือ Major episode โผล่ขึ้นมา ช่วงที่มีอาการจะสั้นกว่าเมื่อเทียบกับช่วงที่เกิดdelusion E : ความผิดปกติไม่เกิดจาก ยา สาร หรือ โรคทางกาย
Differential diagnosis 1.OCD 2.Delirium,Major neurocognitive, psychotic disorder due to another medical condition ,Substance induce psychotic disorder แสดงอาการคล้าย delusional disorder ได้ 3.Schizophrenia and schizophreniform disorder แยกจากกันโดยdelusional disorder ไม่มีอาการอื่นๆของschizo 4.Depressive and bipolar disorder and schizoaffective diag delusional disorder ได้เมื่อ ช่วงdelusion สั้นกว่าช่วงmood episode point คือเทียบกันว่าmood หรือ delusion ที่เป็นส่วนใหญ่ แล้วอันไหนเกิดon top
Specify Erotomatic type Grandiose type Jealous type Persecutory type Somatic type Mixed type ไม่มีแบบไหนเด่น Unspecificed type Specify if with bizarre content
Brief psychotic disorder
Diagnostic Criteria A :มีอาการอย่างน้อย 1 อย่างดังนี้ โดยต้องมีข้อ1,2,3อย่างน้อย1ข้อ 1. Delusion 2.Hallucination 3.Disorganized speech 4.Grossly disorganized or catatonic behavior B : มีอาการมากกว่า 1 วันแต่น้อยกว่า 1 เดือน เมื่อหายจะกลับไปเป็นปกติเหมือนเดิม C : ความผิดปกติอธิบายไม่ได้ด้วย MDD or bipolar with psychotic feature หรือ psychotic disorder อื่นๆ และ ไม่เกี่ยวกับยา สาร หรือโรคทางกาย
Differential diagnosis 1.Other medical condition อาการทางกายหรือdeliriumสามารถเกิดอาการpsychoticช่วงสั้นๆได้ โดยมีevidence จากประวัติ ตรวจร่างกาย ผลแลป ที่สนับสนุนการเกิดpsychosis จาก direct physiology 2.Substance related disorder substance ต้องมีความเกี่ยวเนื่องกับอาการpsychosis เช่นระยะเวลาonset ผลแลปจะช่วยในการdetectการใช้substance 3.Depressive and bipolar อาการpsychotic จะเกิดตอนมี mood episode 4.Other psychotic disorder 5.Malingering and factitious disorder 6.Personality disorder
มักเกิดแบบ sudden onset Suddden onset คือ อาการเกิดขึ้นจากไม่มีpsychotic เป็น full psychotic ใน 2 สัปดาห์
Specify with marked stressor (brief reactive psychosis) without marked stresor with postpartum onset เกิดตอน pregnancyหรือ ภายใน4weeksหลังคลอด Specify if with catatonia
Schizophreniform disorder
Diagnostic Criteria A : อาการ 2 อย่างขึ้นไป โดยอาการแต่ละอย่างแสดงขึ้นมาระยะเวลาพอสมควรในช่วงเวลา 1 เดือน ต้องมีอาการข้อ1,2,3 อย่างน้อย 1 ข้อ 1.Delusion 2.Hallucination 3.Disorganizd speech 4.Grossly disorganized or catatonic behavior 5.Negative symptoms B : มีอาการนานกว่า 1 เดือนและน้อยกว่า 6 เดือน (ถ้า diag โดยไม่รอรักษาก่อน จะเรียกว่า provisionalหรือก็คือวินิจฉัยเบื้องต้น) C : Schizoaffective และ depressive or bipolar disorder with psychotic feature ต้องถูก rule out โดยดูจาก 1.ไม่มี depressive or manic episode ในช่วง active psychotic symptoms 2.ถ้ามี mood episode moodระยะเวลาต้องสั้นและเป็นส่วนน้อย เมื่อเทียบกับอาการpsychosis D : ความผิดปกติอธิบายไม่ได้ด้วย substance โรคทางกาย
Differential diagnosis 1.Other mental disorders and medical conditions 2.Brief psychotic disorder ดูduration
Impairment function ไม่จำเป็นสำหรับการdiag โรคนี้
Schizophrenia
Diagnostic Criteria A : มีอาการ 2 อย่างขึ้นไป โดยอาการแต่ละอย่างแสดงขึ้นมาระยะเวลาพอสมควรในช่วงเวลา 1 เดือน ต้องมีอาการข้อ1,2,3 อย่างน้อย 1 ข้อ 1.Delusion 2.Hallucination 3.Disorganizd speech 4.Grossly disorganized or catatonic behavior 5.Negative symptoms B : อาการเกิดขึ้นระยะเวลาพอสมควรและทำให้ level of major function อย่างน้อย 1 ด้าน ต่ำลงกว่าตอนปกติ C : มีความผิดปกติมามากกว่า 6 เดือน และอาการใน criteria A อยู่นานกว่า 1 เดือน D : Schizoaffective และ depressive or bipolar disorder with psychotic feature ต้องถูก rule out โดยดูจาก 1.ไม่มี depressive or manic episode ในช่วง active psychotic symptoms 2.ถ้ามี mood episode moodระยะเวลาต้องสั้นและเป็นส่วนน้อย เมื่อเทียบกับอาการpsychosis E : ความผิดปกติอธิบายไม่ได้ด้วย substance โรคทางกาย F : ถ้ามีประวัติเป็นโรคกลุ่ม autism หรือ communication disorder ที่เกิดonset ตอนเด็ก ต้องมีอาการdelusion หรือ hallucination เด่น ถึงจะdiag schizophrenia ได้
Differential diagnosis 1.Major depressive or bipolar disorder with psychotic or catatonic feature ดู temporal relationship และ severity ของ mood episode 2.Schizoaffective disorder mood episode เกิดพร้อมกับอาการpsychosis และmood symptom เป็นอาการเด่นของactive period 3.Schizophreniform disorder and breif psychotic disorder ระยะเวลาสั้นกว่า 4.Delusional disorder แยกโดย delusional จะไม่มีอาการอื่นที่มีในschizophrenia 5.Schizotypal personality disorder แยกโดยดู subthreshold symptom ที่เกี่ยวข้องกับลักษณะนิสัยของผู้ป่วยที่มีอยู่แล้ว 6.OCD and Body dysmorphic disorder 7.PTSD เช่นflashbackทำให้เกิดอาการหลอน 8.Autism spectrum or communication disorder แยกโดยพวกautismจะมีปัญหาการเข้าสังคม และ repititve,restricted behavior และ cognitive communication deficit พวก autism มีอาการเข้าfull criteria ของ schizophrenia ได้
Schizoaffective disorder
DIagnostic Criteria A : Major mood episode เกิดพร้อมกับ Criteria A ของSchizophrenia B : มีบางช่วงที่ อาการDelusion หรือ Hallucination มากกว่า 2 สัปดาห์ โดยไม่มีmajor mood episode ในระหว่างนั้น C : อาการที่เข้ากับ criteria ของ mood episode ต้องเป็นอาการแสดงส่วนใหญ่ของอาการป่วยทั้งหมด D : ความผิดปกติอธิบายไม่ได้ด้วย substance โรคทางกาย
Differential diagnosis 1.other mental disorder and medicalconditon ทำให้เกิดทั้งอาการ mood และ psychosisได้ 2.Schizophrenia แยกโดยใช้ criteria C 2.Depressive or bipolar with psychotic feature แยกโดยใช้ criteria B
Specify Bipolar type Depressive type Specify if with catatonia
Substance/Medication induced Psychotic disorder
Diagnostic Criteria A : มีอาการดังนี้ อย่างน้อย 1 อย่าง 1.Delusion 2.Hallucination B : มี evidence จากประวัติ การตรวจร่างกาย ผลแลปว่า 1. อาการในcriteria A เกิดเมื่อหลังจากได้ substance intoxication or withdrawal หรือ หลังได้รับmedication 2.substance/medication ที่เกี่ยวข้องสามารถทำให้เกิดอาการในcriteria A ได้ C : ความผิดปกติไม่สามารถอธิบายจาก psychotic disorder ที่ไม่ได้เกิดจากsubstance/medication ได้ เช่น มีอาการมาก่อนจะใช้สารหรือยา อย่างงี้คือไม่เกี่ยวข้องกับsubstance D : ความผิดปกติไม่เกิดตอนเป็น delirium E : ความผิดปกติทำให้เสีย function สำคัญในการใช้ชีวิต
DIfferental diagnosis 1.Substance intoxication or substance withdrawal -พวกนี้เสพยาหรือเลิกยาแล้วมีอาการหลอนเห็นภาพ โดยเจ้าตัวรุู้ตัวว่าภาพหลอนเกิดจากยา และไม่เชื่อว่าภาพที่เห็นเป็นของจริงจะdiagเป้น Substance intox/withdraw with perceptual disturbance -Flashback hallucination ที่เกิดหลังจากหยุด hallucinogen จะdiagเป็น Hallucinogen persisting perception disorder -ถ้าsubstance induce psychotic เกิดตอนdelirium เช่นตอนsevere alcohol withdrawal จะนับว่า psychotic เป็น 1ในfeature ของdelirium 2.Primary psychotic disorder 3.Psychotic disorder due to another medical condition Medical conditionก็ได้รับยารักษา ทำให้เกิดอาการpsychosisได้ ทีนี้ต้องมาดูว่าสาเหตุเกิดจาก Medical conditionหรือ ยาที่ใช้รักษา ถ้าเกิดจากทั้งสองสาเหตุก็diag เหมารวมเลย
Specify with onset during intoxication with onset during withdrawal
Psychotic disorder due to another medical condition
Diagnostic Criteria A : อาการhallucination หรือ delusion เด่น B : มี evidence ของประวัติ การตรวจร่างกาย ผลแลปที่บอกว่าความผิดปกติเกิดจากMedical condition C : ความผิดปกติไม่สามารถอธิบายด้วย mental disorder อื่นๆ D : ความผิดปกติไม่เกิดตอนที่เป็น delirium E : ความผิดปกติทำให้เสีย function ในการใช้ชีวิต
Differential diagnosis 1.Delirium Hallucination และ delusion มักเป็นส่วนหนึ่งในdelirium ถ้าpsychosisมาตอนเป็นdelirium จะไม่จัดเป็น psycho due to med con 2.Substance/medication induced psychotic disorder มักเกิดpsychosisใน 4 weeks หลังใช้,หยุดยา หรือpsychosis อาจเกิดจากทั้งmed conและmedicationได้ 3.Psychotic disorder
Specify with delusion with hallucination
Bipolar and related disorders
Bipolar I
Diagnostic Criteria A : Criteria เข้ากับ manic episode อย่างน้อย 1 ครั้ง B : manic และ major depressive episode ที่เกิดขึ้น ต้องไม่มาจาก schizoaffective,achizophrenia,schizophreniform,delusional,และพวกpsychotic disorder
Differential diagnosis 1.MDD mddอาจมีอาการmania hypomania (ได้แต่สั้นเกินจะนับเป็น episodeและไม่รุนแรง) 2.other bipolar disorder 3.GAD,panic disorder,PTSD,other anxiety disorder 4.Substance/medication induced bipolar disorder 5.ADHD สับสันได้บ่อยในผู้ป่วยเด็กและวัยรุ่น อาการADHDคล้ายกับbipolar หลายอย่าง 6.Personality disorder 7.Disorder with prominent irritability
Specify with anxious distress with mix feature with rapid cycling with melancholic feature with atypical feature with mood-congruent psychotic feature with mood-incongruent psychotic feature with catatonia with peripartum onset with seasonal pattern
Bipolar II
Diagnostic Criteria A : Criteria เข้ากับ hypomanic episode อย่างน้อย 1 ครั้ง และ และเข้ากับ Major depressive episode อย่างน้อย 1 ครั้ง B : ไม่เคยมี manic episode C : Hypomanic และ major depressive episode ที่เกิดขึ้น ต้องไม่มาจาก schizoaffective,achizophrenia,schizophreniform,delusional,และพวกpsychotic disorder D : อาการdepression หรือการสับเปลี่ยนระหว่าง depressionกับhypomania ทำให้เสีย function ในการใช้ชีวิต
Differential diagnosis 1.MDD อาจมีhypomanic หรือ manic symptomได้ แต่ไม่ครบcriteria และผู้ป่วย bipolar II มักมาด้วยอาการdepressive เด่นและรู้สึกตัวว่ามีdepressive แต่ไม่รู้ตัวว่ามีhypomanicด้วย อาจถามคนใกล้ตัวเพิ่มถึงรายละเอียดของhypomanic symptom 2.Cyclothymic disorder มีhypomanicและdepressive symptom หลายครั้ง โดยdepressive symptom ยังไม่เข้าขั้นเป็น Major depressive episode 3.กลุ่มSchizophrenia 4.Panic disorder or other anxiety disorder 5.Substance use disorder 6.ADHD อาการADHDหลายอย่างคล้ายhypomania 7.Personality disorder 8.Other bipolar disorder
Specify Hypomanic Depressed Specify if with anxious distress with mixed features with rapid cycling with mood-congruent psychotic feature with mood-incongruent psychotic feature with catatonia with peripartum onset with seasonal pattern
Cyclothymic disorder
Diagnostic Criteria A : มี hypomanic symptom (แต่ยังไม่ถึงขั้นhypomanic episode) หลายครั้งและมี Depressive symptom หลายครั้ง (ยังไม่ถึงขั้น Major depressive episode ) เป็นเวลาอย่างน้อย 2 ปี (อย่างน้อย 1 ปีในเด็กและวัยรุ่น) B : ในช่วงเวลา 2 ปี (ในเด็กและวัยรุ่นใช้ 1 ปี) อาการhypomania และ depressive ปรากฎมากกว่าครึ่งนึงของเวลาทั้งหมด และไม่มีช่วงเวลาใดที่อาการหายไปนานเกิน 2 เดือน C :ไม่เข้ากับ Criteria ของ Major depressive,Manic ,hypomanic episodes D : อาการใน Criteria A ต้องไม่มาจาก schizoaffective,achizophrenia,schizophreniform,delusional,และพวกpsychotic disorder E : อาการไม่เกี่ยวข้องกับ substance or another medical condition F : อาการทำให้เสีย function ในการใช้ชีวิต
Differential diagnosis 1.Bipolar and related disorder and depressive disorder due to med con. 2.Substance/Medication induced bipolar & relate & depressive disorder 3.Bipolar I or II with rapid cycling อาจดูเหมือนcyclothymic ได้ถ้าshift mood เร็ว แยกโดย cyclothimic จะไม่เข้ากับcriteria ของ hypomanic ,manic ,major depressive episode 4.Borderline personality disorder เกี่ยวข้องกับ marked shift in mood
Substance/medication-induced bipolar & related disorders
Bipolar & related disorders due to another medical condition
Manic episode
A : persistent elevated,expansive,irritable mood มีเป้าหมายมาก พลังเหลือล้น อาการเป็นนานกว่า 1 week และเป็นตลอดทั้งวัน เกือบทุกวัน B : ช่วงที่มีอาการผิดปกติ ต้องมีอาการอย่างน้อย 3 อย่างดังนี้(กรณี criteria A เป็นelevated ถ้า A เป็น irritability ให้เอาอย่างน้อย 4อาการใน criteria B) โดยอาการมีมากพอสมควรจนทำให้พฤติกรรมเปลี่ยน 1.ความมั่นใจตัวเองสูงมาก หรือ grandiosity 2.นอนน้อยลง 3.พูดมาก อยากพูดมากกว่าปกติ 4.Flight of idea 5.เบี่ยงเบนความสนใจได้ง่าย (attentionลงเร็ว) 6.goal direct activity เพิ่ม or psychomotor agitation 7.เกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่มีโอกาสpainfulสูง เช่น ซื้อของมากเกินกำลังเงิน มีsexกับคนแปลกหน้า C : ความผิดปกติรุนแรงจนทำให้ functionในการใช้ชีวิตเสียไป หรือ จำเป็นต้องเข้ารพ.เพื่อป้องกันการทำร้ายตัวเองหรือผู้อื่นหรือมี psychotic feature D : episode ไม่เกี่ยวข้องกับ substance or another medical condition
Hypomanic episode
A : persistent elevated,expansive,irritable mood มีเป้าหมายมาก พลังเหลือล้น อาการเป็นอย่างน้อย 4 วันติดกัน และเป็นตลอดทั้งวัน เกือบทุกวัน B : ช่วงที่มีอาการผิดปกติ ต้องมีอาการอย่างน้อย 3 อย่างดังนี้ โดยอาการมีมากพอสมควรจนทำให้พฤติกรรมเปลี่ยน 1.ความมั่นใจตัวเองสูงมาก หรือ grandiosity 2.นอนน้อยลง 3.พูดมาก อยากพูดมากกว่าปกติ 4.Flight of idea 5.เบี่ยงเบนความสนใจได้ง่าย (attentionลงเร็ว) 6.goal direct activity เพิ่ม or psychomotor agitation 7.เกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่มีโอกาสpainfulสูง C :Episode ที่เกิดทำให้ functionเปลี่ยนแปลงชัดเจนเมื่อเทียบกับก่อนมีอาการ D : ความผิดปกติทางอารมณ์สามารถสังเกตเห็นได้จากคนอื่น E : Episode ไม่รุนแรงเกินจนทำให้ เสียfunctionในการใช้ชีวิตหรือจำเป็นต้องเข้ารพ. ถ้ามีpsychotic feature episode จะกลายเป็น manic ทันที F : episode ไม่เกี่ยวข้องกับ substance or another medical conditionepisode ไม่เกี่ยวข้องกับ substance or another medical condition
Major depressive episode
A : มีอาการอย่างน้อย 5 อย่าง แสดงนานเกิน 2 weeks และต้องมีอาการ 1.depress mood หรือ 2.หมดความสนใจ อย่างน้อย 1 อย่าง 1.อารมณ์เศร้า(depress mood) ตลอดวัน เกือบทุกวัน สังเกตได้จากหมอดูหรือคนไข้บอก 2.หมดความสนใจในทุกสิ่ง เป็นทั้งวัน เกือบทุกวัน 3.significant weight loss หรือ loss of appetite เกือบทุกวัน 4.นอนน้อยหรือนอนมากเกือบทุกวัน 5.Psychomotor agitation or retardation เกือบทุกวัน 6.Fatigue or loss of energy เกือบทุกวัน 7.รู้สึกไร้ค่า รู้สึกผิด(อาจdelusionได้) เกือบทุกวัน 8.ไม่สามารถตั้งสมาธิ ความจดจ่อ ตัดสินใจได้ เกือบทุกวัน 9.เคยคิดฆ่าตัวตาย หรือพยายามฆ่าตัวตาย B : อาการทำให้เสีย function ในการใช้ชีวิต C : episode ไม่เกี่ยวข้องกับ substance or another medical condition
Depressive disorders
Major depressive disorder
A : มีอาการอย่างน้อย 5 อย่าง แสดงนานเกิน 2 weeks และต้องมีอาการ 1.depress mood หรือ 2.หมดความสนใจ อย่างน้อย 1 อย่าง 1.อารมณ์เศร้า(depress mood) ตลอดวัน เกือบทุกวัน สังเกตได้จากหมอดูหรือคนไข้บอก 2.หมดความสนใจในทุกสิ่ง เป็นทั้งวัน เกือบทุกวัน 3.significant weight loss หรือ loss of appetite เกือบทุกวัน 4.นอนน้อยหรือนอนมากเกือบทุกวัน 5.Psychomotor agitation or retardation เกือบทุกวัน 6.Fatigue or loss of energy เกือบทุกวัน 7.รู้สึกไร้ค่า รู้สึกผิด(อาจdelusionได้) เกือบทุกวัน 8.ไม่สามารถตั้งสมาธิ ความจดจ่อ ตัดสินใจได้ เกือบทุกวัน 9.เคยคิดฆ่าตัวตาย หรือพยายามฆ่าตัวตาย B : อาการทำให้เสีย function ในการใช้ชีวิต C : episode ไม่เกี่ยวข้องกับ substance or another medical condition D : อาการของ Major depressive episode ต้องไม่มาจาก schizoaffective,achizophrenia,schizophreniform,delusional,และพวกpsychotic disorder E : ไม่มี Manic or Hypomanic episodes
Differential diagnosis 1.Manic episodes with irritable mood or mixed episodes แยกกับ Major depressive episode with prominent irritable mood ได้ยาก 2.Mood disorder due to another medical conditon 3.Substance/medication-induced depressive or bipolar disorder 4.ADHD 5.Adjustment disorder with depressed mood แยกโดย adjust จะไม่เข้าfull criteria ของ major depressive episode ุ6.Sadness ดูความรุนแรง จำนวนอาการ ระยะเวลา ถ้าเข้าcriteria ได้ก็เปลี่ยนเป็น Major depressive episode
Specify with anxious distress with mixed features with atypical features with mood-congruent psychotic feature with mood-incongruent psychotic feature with catatonia with peripartum onset with seasonal pattern
Persistent depressive disorder (dysthymia)
Diagnostic Criteria A : Depressed mood ทั้งวันหรืออาจหลายวันแล้วหาย และมีอาการมานานอย่างน้อย 2 ปี (ในเด็กและวัยรุ่น อาจเป็นirritable mood แบะใช้เวลาแค่อย่างน้อย 1 ปี) B : มีอาการอื่นๆขณะ depressed 2 อาการขึ้นไป 1.Poor appetite or overeating 2.Insomnia or hypersomnia 3.Low energy or fatigue 4.Low self-esteem 5.Poor concentration or difficulty making decision 6.Feeling of hopelessness C : ตลอด 2 ปีที่ผืดปกติ ไม่เคยมีช่วงที่อาการในcriteria A และ B หายไปนานเกิน 2 เดือน D : Criteria ของ MDD อาจต่อเนื่องยาวถึง 2 ปี E : ไม่เคยมีmanic or hypomanic episodes และ ไม่เข้ากับcriteria ของ cyclothymic disorder F : อาการต้องไม่มาจาก schizoaffective,achizophrenia,schizophreniform,delusional,และพวกpsychotic disorder G : อาการไม่ได้เกิดจาก substance or another medical conditon (e.g. hypothyroid) H : ความผิดปกติทำให้เสีย function ในการใช้ชีวิต
Differential diagnosis 1.MDD ไม่ได้ทำเพื่อแยกdiagระหว่าง mdd กับ dysthymia แต่ทำให้specificขึ้น -ถ้ามีอาการเข้ากับ criteria ของ major depressive episode ในช่วง 2 ปี ก็ระบุว่ามีmajor depression เกิดขึ้น จากนั้นมาcombine ให้specific ดังนี้ -ปัจจุบันเพิ่งเข้าfull criteria of major depressive episode เรียก dysthymia with intermittent major depressive episodes,with current episode -major depressive episode อยู่มานานเกิน 2 ปี เรียก dysthymia with persistent major depresive episode -ปัจจุบัน ไม่เคยมีfull criteria of major depresive episode แต่ในอดีตเคยครบ ในช่วงเวลา 2ปีของdysthymia เรียก dysthymia with intermittent major depressive episodes,without current episode -ตลอด 2 ปีไม่เคยเข้าcriteria of major depressive episode เลย เรียก dysthymia with pure dysthymic syndrome 2.Psychotic disorders 3.Depressive or bipolar & related disorder due to another medical condition 4.Substance/medication-induced depressive or bipolar disorder 5.Personality disorder
Specify with anxious distress with mixed features with atypical features with mood-congruent psychotic feature with mood-incongruent psychotic feature with melancholic features with peripartum onset Specify if Early onset (onset ก่อนอายุ 21 ปี) LAte onset (onsset อายุ 21 ปีขึ้นไป)
Substance/medication-induce depressive disorder
Depressive disorder due to another medical condition
Anxiety disorders
Separation anxiety disorder
Selective mutism
Specific phobia
Diagnostic Criteria A : Marked fear on axiety about a specific objects or situations B : Phobic object or situation ทำให้กระตุ้นเกิดการกลัว anxiety ได้ทันทีทุกครั้ง C : Phobic object or situation ถูกหลีกเลี่ยงอย่างตั้งใจเพราะกลัวหรือanxietyอย่างมาก D :fear or anxiety เกินเบอร์กว่าคนทั่วไป E : fear or anxiety or avoidance ยังคงอยู่นานเกินกว่า 6 เดือน F : Fear,anziety,avoidance ทำให้ส่งผลและเสียfunctionในชีวิต G : ความผิดปกติอธิบายด้วยอาการของanothe mental disorderอื่นๆไม่ได้ เช่น other incapacitating symptom (agoraphobia) , Object or situation related to obsession (OCD) , reminder of traumatic event (PTSD) ,separation from home or attachment figures (separation anxiety disorder) ,social situation (social phobia)
Differential diagnosis 1.Agoraphobia อาการคล้ายกันได้ -ถ้ากลัว เครื่องบิน เรือ จะจัดเป็น 1 agora situation(public transportation) ยังงี้diag specific phobia -ถ้ากลัว เครื่องบิน เรือ ฝูงชน จะจัดเป็น 2 agora situations(Public trasportation,being in the crowd) จะdiag เป็น agoraphobia -Criteria B of agoraphobia ช่วยแยกออกจาก specific phobiaได้ -ถ้ากลัวด้วยเหตุผลว่าสิ่งของหรือsituationจะทำอันตรายโดยตรงได้ เช่นกลัวเครื่องบินตก,กลัวงูกัด) ยังงี้ diag specif phobia เหมาะกว่า 2.Social anxiety disorder ถ้ากลัวจากnegative evaluation ถึงจะdiagอันนี้ 3.Separation anxiety disorder 4.Panic disorder -ถ้าเกิดpanic attack แค่ตอนเจอspecific object or situation dx specific phobia -ถ้าเกิดpanic attack โดยไม่คาดคิด dx panic disorder 5.OCD fear on anxiety จาก ผลของobsession เช่น กลัวเลือดเพราะobsessive thought ว่าเลือดมีเชื้อโรคอยู่ ถ้าcriteria อื่นเข้าได้กับ OCD ให้ dx OCD 6.Trauma and stressor related disorders 7.Eating disorder ถ้าหลีกเลี่ยงกินอาหารหรือเกี่ยวกับอาหารจะนึกถึง anorexia nervosa or bulimia nervosa 8.กลุ่มSchizophrenia fear,avoidance จาก delusion thinking
Social anxiety disorder (Social phobia)
Diagnostic Criteria A : Marked fear or anxiety เมื่ออยู่ในสถานการณ์ที่สามารถถูกคนอื่นมองหรือคิดถึงตัวเราได้ เช่น สนทนาทั่วไป,performต่อสาธารณะ,ถูกสังเกต B : ผู้ป่วยกลัวว่าจะแสดงอาการanxiety จนคนอื่นมองเขาในแง่ลบ C : social situation สามารถกระตุ้น fear or anxiety ได้ตลอด D : หลีกเลี่ยงsocial situationเพราะ fear or anxiety E : Fear or anxiety ต่อ social situation เกินเบอร์กว่าที่เป็นจริง F : อาการfear anxiety avoidance คงอยู่มาตลอดนานเกิน 6 เดือน G : fear ,anxiety ,avoidance ทำให้เสียfunction ในการใช้ชีวิต H : fear ,anxiety ,avoidance ไม่เกี่ยวข้องกับsubstance or another medical condition I : fear ,anxiety ,avoidance ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยโรค mental disorder อื่นๆ J : ถ้า another medical condition โผล่ขึ้นมา fear ,anxiety ,avoidance ต้องไม่เกี่ยวข้องกับโรค
Differential Diagnosis 1.Normative shyness : Shyness นั้น common แยกโดยดูcriteria ของ social phobia 2.Agoraphobia : จะกลัวเพราะหนีออกจากสถานการณ์ยากหรืออาจไม่มีใครช่วย ในขณะที่ social phobia จะกลัวถูกคนอื่นคิดเห็นต่อตัวเรา เมื่ออยู่คนเดียวจะสงบสติได้ ต่างจาก agoraphobia 3.Panic disorder : panic attackจากตัวเขาเอง ส่วนsoical phobia มี panic attack ได้เพราะกลัวถูกมองในแง่ลบ 4.GAD : GAD กังวล quality of social performanceของตัวเองหรือกลัวคนอื่นไม่มองเรา ส่วนSocial phobia กังวลsocial performance ที่ส่งผลต่อแง่คิดลบๆคนอื่นที่มองเรา 5.Separation anxiety disorder : จะcomforrt เมื่ออยู่ในsocial setting ของเรา แต่social phobia จะอยู่settingไหนก็ไม่comfortได้ 6.Specific phobia : จะไม่กลัวความคิดแง่ลบของคนอื่น 7.Selective mutism : fail to speak เพราะกลัวความคิดแง่ลบ แต่จะไม่กลัวในสถานการณ์ที่ไม่ต้องใช้คำพูด 8.MDD 9.Delusional disorder 10.Autism specttrum disorder : social anxiety และ ขาดทักษะเข้าสังคม เป็นลักษณะเด่นของautism Social phobia จะมีความสามารถหรือศักยภาพระดับนึงในการเข้าสังคม 11.Personality disorder
Specify if Performance only
Panic disorder
DIagnostic Criteria A : Recurrent unexpected panic attack, panic attack เกิดขึ้นรวดเร็วทันทีจากความกลัวและไม่สบายใจที่พุ่งสูงมากในระยะเวลาอันสั้น ตอนเกิดattack ต้องมีอาการอย่างน้อย 4 อย่างดังนี้ 1.Palpitation , pounding heart ,accelerated heart rate 2.sweating 3.Shaking or trembling 4.Sensation of shortness of bearth 5.Feeling choking 6.Chest pain or discomfort 7.Nausea or abdominal distress 8.Feeling dizzy ,unsteady ,light head 9.Chill or heat sensation 10.Paresthesia 11.Derealization or Depersonalization 12.Fear of losing contral 13.Fear of dying B : มีอย่างน้อย 1 attack แล้วตามด้วยอาการดังนี้เป็นเวลา 1 เดือน 1.กลัว กังวลถึง panic attackที่จะมาเพิ่มหรือผลที่ตามมาหลังจากเกิด attack 2.พฤติกรรมเปลี่ยนเพราะ attack เช่นพยายามหลีกเลี่ยง C : ความผิดปกติไม่เกิดจาก substance or another medical condition D : ความผิดปกติ(panic attack)อธิบายไม่ได้ด้วยโรคmental disorderอื่นๆเช่น social phobia,Specific phobia,PTSD,OCD,separation anxiety
Differential Diagnosis 1.Other specified or unspecified anxiety disorder : ถ้าไม่เคยมี full-symptom unexpect panic attack เกิดขึ้น ไม่diag panic disorder คิดถึงอย่างอื่นแทน 2.Anxiety disordeer due to another medical condition : medical con ที่ทำให้เกิด panic attack ได้แก่ hyperparathyroidism,pheochromocytoma,vestibular dysfunction,seizure disorder,cardiopulmonary condition(e.g.arrhytmia,svt,asthma,copd) 3.Substance/medication induced anxiety disorder : Intoxication ต่อ CNS เช่น Cocaine,amphetamine,caffeine)หรือ withdrawal from CNS เช่น Alcohol,Barbiturate สามารถทำให้เกิด panic attack ได้ 4.Other mental disorder with panic attack as an associated feature : พวก phobiaทั้งหลายมี panic attackได้ โดยจะไม่เข้ากับcriteriaของpanic disorder
Term Panic disorder = recurrent unexpected panic attack (Criteria A ) recurrent = มากกว่า 1 unexpected panic attack unexpected = เกิด panic attack โดยไม่มีตัวกระตุ้นที่สังเกตได้ การเกิด expected panic attack ไม่ได้ rule out panic disorder
Panic attack specifier
Agoraphobia
Diagnostic Criteria A : Marked fear or anxiety กับสถานการณ์อย่างน้อย 2 สถานการณ์ต่อไปนี้ 1.using public transportation 2.Being in open space 3.Being in enclosed places 4.Standing in line or eing in a crowd 5.Being outside of the home alone B : กลัวหรือหลีกเลี่ยงสถานการณ์เหล่านี้เพราะคิดว่าจะหนีออกมาไม่ได้หรือขอความช่วยเหลือไม่ได้เมื่อ panic like symptom ,หรือsymptomอื่นๆที่น่าอายเกิดขึ้น (เช่นกลัวฉี่ราด,กลัวหกล้มในคนสูงอายุ) C : Agoraphobic situation กระตุ้นความกลัวกังวลได้ทุกครั้ง D : Agoraphobic situation ถุกหลีกเลี่ยงหรือต้องมีคนไปด้วยหรือผ่านด้วยความกลัวกังวลมาก E : Fear,anxiety,avoidance เกินเบอร์ F : Fear,anxiety,avoidance อยู่นานเกิน 6 เดือน G : Fear,anxiety,avoidance ทำให้เสีย function ในการใช้ชีวิต H : ถ้ามีanother med con Fear,anxiety,avoidance มากอย่างชัดเจน I : Fear,anxiety,avoidance อธิบายไม่ได้ด้วยโรคmental disorder อื่นๆ
Differential Diagnosis 1.Specific phobia,situational type : จะlimit แค่ 1 agoraphobia situation หรือ Fear,anxiety,avoidance จากสถานการ์นั้นมันทำอันตรายโดยตรง เช่น เครื่องบินตก 2.Separation anxiety disorder : ดูความคิดเพราะ separation จะยึดติดกับผู้เลี้ยงดูหรือบ้านที่อยู่ ส่วนAgoraจะกลัวเกิดpanic like symptom ตอนอยู่ข้างนอก 3.Social phobia : โฟกัส fear จากคนอื่นมองในแง่ลบ 4.Panic disorder : 5.Acute stress & PTSD 6.MDD : ไม่อยากออกจากบ้านเพราะเหนื่อย ท้อ หมดไฟ ไร้ค่า ไม่ใช่กลัวว่าจะเกิดpanic like symptom หรืออาการอื่นๆ 7.Other medical condition : มีFear,anxiety,avoidance ได้จากโรคที่เขาเป็นเช่นกลัวท้องเสียจากIBD หรือกลัวเป็นลมจาก TIA ซึ่งจะdiag agora ได้เมื่อกลัวเกินเบอร์จากคนเป็นโรคปกติ
Panic like symptom คือ อาการใดๆก็ได้ที่อยู่ใน13symptoms ที่ใช้ในcriteria ของ panic attack
Generalized anxiety disorder
Diagnostic Criteria A : Excessive anxiety and worry หลายวันเกี่ยวกับจำนวนของevent or activities เช่น work or school performance เป็นระยะเวลาไม่ต่ำกว่า 6 เดือน B : ยากที่จะควบคุมความกังวลนี้ C : anxiety and worry มีอาการดังนี้ 3 อย่างขึ้นไป โดยอาการมีจำนวนวันที่เป็นมากกว่าวันที่ไม่เป็นในช่วงระยะเวลา 6 เดือน (ในเด็กเอาอาการแค่อย่างเดียว) 1.Restlessness or feeling keyed up on edge 2.Being easily fatigued 3.Difficulty concentrating or mind going blank 4.Irritability 5.Muscle tension 6.Sleep disturbance D : Anxiety,worry,physical symptom ทำให้เสีย function ในการใช้ชีวิต E :ความผิดปกติไม่เกิดจาก substance or another medical condition F : ความผิดปกติอธิบายไม่ได้ด้วย mental disorder อื่นๆ
Differential diagnosis 1.Anxiety disorder due to another medical condition 2.Substance/medication-induced anxiety disorder 3.Social anxiety disorder : จะกังวลว่าคนอื่นมองเรายังไง แต่GAD คนอื่นจะมองไม่มองก็ไม่ได้สน 4.OCD : OCD จะกังวลคิดมาก แต่GAD กังวลสิ่งที่จะทำในอนาคต 5.PTSD & adjustment disorder : 6.Depressive , bipolar ,psychotic disorder : Generalized anxiety,worry เป็นfeature ในโรคที่กล่าวมาได้
Substance/medication induced anxiety disorder
Anxiety disorder due to another medical condition
Obsessive-compulsive and related disorders
Obsessive-Compulsive Disorder
มีย้ำคิด(Obsession)หรือย้ำทำ(Compulsion) Obsession ต้องมี 2 อย่างนี้ 1.มีความคิด แรงกระตุ้น มโนภาพที่เกิดซ้ำๆและคงอยู่นาน โดยผุดขึ้นมาเองและผู้ป่วยไม่ต้องการให้เกิดขึ้น ทำให้กังวลและทุกข์ใจอย่างมาก 2.ผู้ป่วยพยายามมองข้ามหรือยับยั้งความคิด มโนภาพ แรงกระตุ้น หรือไม่ก็คิดตามสิ่งที่คิดหรือทำตามสิ่งที่คิดเพื่อลบล้างการย้ำคิด Compulsion ต้องมี 2 อย่างนี้ 1.พฤติกรรมซ้ำๆหรือการกระทำในใจที่ผู้ป่วยต้องทำซ้ำๆเพื่อตอบสนองต่อการย้ำคิด 2.การกระทำนี้มีขึ้นเพื่อป้องกันหรทือลดความกังวล ความทุกข์หรือป้องกันเรื่องร้ายๆที่จะเกิดขึ้น B : obsession or compulsion กินเวลาชีวิตมาก หรือทำให้เสีย function ในการใช้ชีวิต C : obsessive-compulsive symptom ไม่เกี่ยวข้องกับ substance or another medical condition D : ความผิดปกติอธิบายไม่ได้ด้วย another mental disorder อื่นๆ เช่น GAD,body dysmorphic disorder,hoarding disorder,trichotillomania เป็นต้น
Differential Diagnosis 1.Anxiety Disorder : ความกังวลย้ำคิดใน GAD เป็น real-life concern แต่OCD ย้ำคิดในเรื่องทั่วไป เรื่องแปลกๆ ไม่มีเหตุผลได้ 2.MDD 3.Other obsessive-compulsive disorder and related disorder 4.Tic and stereotyped movement : การเคลื่อนไหวจะง่ายกว่า compulsion และไม่ได้มีจุดประสงค์เพื่อลบล้าง obsession ส่วนการแยก complex tic กับ Compulsion ทำได้ยาก โดย compulsion จะตามหลัง obsession แต่ complex tic จะตามหลัง premonitory sensory urge 5.Psychotic disorder : ผู้่วยบางคนเป็น OCD with poor insight or delusional belief ุ6.Obsessive-compulsive personality disorder : มักมาจากความ perfectionist หรือ เคร่งในกฏ
Specify if with good or fair insight : รู้ตัวว่าอาการนั้นไม่น่าเป็นจริง with poor insight : คิดว่าอาการน่าจะเป็นจริง with absent insight/delusional belief : ผู้ป่วยถูกโน้มน้าวโดยสมบูรณ์ว่าอาการที่เป็นนั้นจริง
Body dysmorphic Disorder
Trichotillomania
Substance/Medication-induced Obsessive-Compulsive and Related disorder
Obsessive-Compulsive & related disorder due to another medical condition
Truama- & strees- related disorders
Reactive Attachment Disorder
Posttraumatic Stress Disorder
Diagnostic Criteria A : ประสบเหตุรุนแรงเกือบตาย,บาดเจ็บรุนแรง,ล่วงละเมิดทางเพศ โดยทางใดทางหนึ่งหรือมากกว่านี้ 1.เจอเหตุการณ์โดยตรง 2.เป็นพยานในเหตุการณ์ 3.รับรู้ว่าเหตุการณ์รุนแรงเกิดกับคนใกล้ตัว ครอบครัว คนสนิท 4.รับรู้เหตุการณ์นั้นแย่ๆ ซ้ำๆ เช่น หน่วยกู้ภัยเจอศพ,ตำรวเจอหลักฐานchild abuse ฺ( A4ไม่นับกับพวกที่ได้รับรู้เหตุการณ์ผ่านจอทีวี สื่อ ) ฺB : มีอาการอย่างน้อย 1 อย่างที่เกี่ยวกับTraumatic event ผุดขึ้นหลังจากจบ Traumatic event 1.ความทรงจำแย่ๆตอน Traumatic event กลับมาโดยไม่ได้ตั้งใจ 2.ฝันถึง Traumatic event ซ้ำๆ 3.มีปฏิกิริยาราวกับ Traumatic event จะกลับมาเกิดอีกครั้ง 4.มีความทุกข์ใจเมื่อเจอกับสถานการณ์ที่เป็นสัญลักษณ์หรือคล้ายกับ Traumatic event 5.มีปฏิกิริยาทางร่างกายเมื่อพบกับสถานการณ์หรือสัญลักษณ์ที่คล้ายกับTraumatic event C : มีพฤติกรรมหลีกเลี่ยงเมื่อเจอสิ่งเร้าที่สัมพันธ์กับTraumatic eventนั้นตั้งแต่ 1 ข้อขึ้นไป 1.หลีกเลี่ยงหรือพยายามเลี่ยงความทรงจำ ความคิด ครส. ที่เกี่ยวกับ Traumatic event 2.หลีกเลี่ยงสิ่งภายนอกที่ทำให้นึกถึง Traumatic event เช่น ผู้คน สถานที่ บทสนทนา D : ความนึกคิดและอารมณ์เปลี่ยนไปในทางลบหลังจากTraumatic event มี 2อย่างดังนี้ขึ้นไป 1.จำส่วนสำคัญของ Traumatic event ไม่ได้ 2.มีความเชื่อกับตัวเอง คนอื่น โลกภายนอก ในแง่ลบเกินจริง 3.มีความคิดเกี่ยวกับสาเหตุและผลกระทบจากTraumatic eventบิดเบือนจากความจริง ส่งผลให้โทษตนเองหรือผู้อื่น 4.Persistent negative emotion state e.g. fear,horro,anger,guilt 5.ความสนใจในการร่วมกิจกรรมลดลงมาก 6.รู้สึกแปลกแยกจากคนอื่น 7.ไม่สามารถรู้สึกถึงอารมณ์ทางบวกได้ (ไม่รส.รัก พอใจ สุข) E : มีอาการตื่นตัวเปลี่ยนไปอย่างมากหลัง Traumatic event ตั้งแต่ 2 ข้อขึ้นไป 1.หงุดหงิด โกรธง่าย 2.บ้าบิ่น ทำร้ายตัวเอง 3.ระแวดระวังเกิน 4.ตกใจมากกว่าปกติ 5.ปัญหาด้านสมาธิ 6.ปัญหาการนอน F : มีปัญหาข้อ B C D E มามากกว่า 1 เดือน G : ความผิดปกติทำให้เสีย function ในการใช้ชีวิต H : ความผิดปกติไม่เกิดจาก substance or another medical condition หมายเหตุ ในเด็กอายุน้อยกว่า 6 ปี จะเห็นอาการผ่านการเล่นซ้ำเกี่ยวกับ Traumatic event ส่วนอาการฝันร้ายของเด็กอาจแยกได้ยากเพราะเด็กมักจำฝันไม่ได้
Differential Diagnosis 1.Adjustment Disorder : Stressor เป็นอะไรก็ได้ ไม่จำกัดแค่ในcriteria A of PTSD 2.Acute stress disorder : ดู duration 3.Other postraumatic disorder and condition 4.Traumatic brain injury : reexperiencing & avoidance เด่นในPTSD persistent disorientation & confusion เจาะจงกับ TBI มากกว่า
Acute Stress Disorder
Diagnostic Criteria A : ประสบเหตุรุนแรงเกือบตาย,บาดเจ็บรุนแรง,ล่วงละเมิดทางเพศ โดยทางใดทางหนึ่งหรือมากกว่านี้ 1.เจอเหตุการณ์โดยตรง 2.เป็นพยานในเหตุการณ์ 3.รับรู้ว่าเหตุการณ์รุนแรงเกิดกับคนใกล้ตัว ครอบครัว คนสนิท 4.รับรู้เหตุการณ์นั้นแย่ๆ ซ้ำๆ เช่น หน่วยกู้ภัยเจอศพ,ตำรวเจอหลักฐานchild abuse ฺ( A4ไม่นับกับพวกที่ได้รับรู้เหตุการณ์ผ่านจอทีวี สื่อ ) B : มีอาการรวม 9 อย่างขึ้นไปจากทุก 5 categories Intrusion symptoms 1.ความทรงจำแย่ๆตอน Traumatic event กลับมาโดยไม่ได้ตั้งใจ 2.ฝันถึง Traumatic event ซ้ำๆ 3.มีปฏิกิริยาราวกับ Traumatic event จะกลับมาเกิดอีกครั้ง 4.มีความทุกข์ใจเมื่อเจอกับสถานการณ์ที่เป็นสัญลักษณ์หรือคล้ายกับ Traumatic event Negative mood 5.ไม่สามารถมี positive mood ได้เลย Dissociative symptoms 6.การรับรู้ความจริงเกี่ยวกับตัวเองหรือสิ่งรอบข้างผิดปกติ เช่น เห็นตัวเองจากมุมมองคนอื่น,เวลาผ่านไปช้า 7.จำส่วนสำคัญใน Traumatic event ไม่ได้ Avoidance symptom 8.หลีกเลี่ยงหรือพยายามเลี่ยงความทรงจำ ความคิด ครส. ที่เกี่ยวกับ Traumatic event 9.หลีกเลี่ยงสิ่งภายนอกที่ทำให้นึกถึง Traumatic event เช่น ผู้คน สถานที่ บทสนทนา Arousal Symptom 10.Sleep disturbance 11.ระแวดระวังเกินไป 12.หงุดหงิด โกรธง่าย 13.มีปัญหาการจดจ่อ 14.ตกใจมากกว่าปกติ C : อาการในข้อ B มีระยะ 3วันถึงไม่เกิน 1 เดือนหลังจากเหตุการณ์ D : ความผิดปกติทำให้เสีย function E : ความผิดปกติไม่เกิดจาก substance or another med con.
Differential Diagnosis 1.Adjustment Disorder 2.Panic Disorder : Panic attack เกิดใน acute stress disorder ได้ 3.Dissociative disorder 4.PTSD : ถ้า ASD อยู่นานเกิน 1 เดือนเปลี่ยนการวินิจฉัยเป็น PTSD 5.OCD 6.Psychotic disorder : แยก flashback ของ asd ออกจาก hallucination,illusion โดยflashbackนั้นจะเกี่ยวข้องกับ trumatic event 7.Traumatic brain injury :
Adjustment Disorder
Diagnostic Criteria A : มีพัฒนาการของอารมณ์หรือพฤติกรรมต่อ identifiable stressor เกิดขึ้นภายใน 3 เดือนตั้งแต่onsetของstressor B : มีอาการหรือพฤติกรรมอย่างน้อย 1 อย่างดังนี้ 1.ทุกข์ใจเว่อร์เกินความรุนแรงของstressor 2.เสีย function ในการใช้ชีวิต C : ความผิดปกตินี้ไม่เข้ากับ criteria โรคอื่น D : อาการไม่ใช่เป็นการตอบสนองทั่วไปต่อการสูญเสียบุคคลที่ตนรัก (ไม่ใช่normal bereavement) E : เมื่อstressorหรือผลของมันสิ้นสุดลง อาการคงอยู่ต่อไม่นานเกิน 6 เดือน
Differential Diagnosis 1.MDD 2.PTSD & acute stress disorder : ดูระยะเวลากับลักษณะ ถ้ามีอาการแต่ไม่เข้าcriteriaของสองโรค ก็dx adjustได้ หรือคนที่ไม่เคยเจอ Traumatic eventแต่มีอาการfull symptom ของ PTSD or acute stress ก็ dx Adjustment ได้ 3.Personality disorder 4.Normative stress reaction : อาการทุกข์จะไม่เว่อร์เกินไป
Stressor คือ ปัจจัยกดดันเช่น การไปโรงเรียน แต่งงาน คลอดลูก การทำงาน เจ็บป่วย
Specify with depressed mood with anxiety with mixed anxiety and depressed mood with disturbance of conduct with mixed disturbance of emotion and conduct
Dissociative disorders
Depersonalization/Derealization Disorder
Somatic symptom and related disorders
Somatic Symptom Disorder
Illness Anxiety Disorder
Feeding and eating disorders
Anorexia nervosa
Bulimia nervosa
Sleep-wake disorders
Insomnia Disorder
Hypersomnolence Disorder
Disruptive,Impulse-control & Conduct disorders
Conduct Disorder
Substance-related & Addictive disorders
Neurocognitive disorders
Delirium
Diagnostic Criteria A : ความผิดปกติในการ attention และ awareness B : ความผิดปกติเกิดขึ้นในเวลาอันสั้น (ชม.ถึงไม่กี่วัน) fluctuating in severity ในระหว่างวัน C : มีความผิดปกติทาง cognition เพิ่มเช่น memory deficit,disorientation,language,visuospatial ability,perception) D : ความผิดปกติในข้อAและC ไม่สามารถอธิบายได้ด้วย neurocognitive disorder หรือ เกิดตอนอยู่ในสภาวะที่ไม่รู้ตัวเช่น coma E : มี evidence ของประวัติ การตรวจร่างกาย ผลแลป ที่บอกว่า ความผิดปกติเกิด direct physiological consequence of another med con.,substance intox or withdrawal,exposure to toxin,หรืออื่นๆ
Specify Substance intoxication delirium Substance withdrawal delirium Medication-induced delirium Delirium due to another medical condition Delirium due to multiple etiologies Specify if Hyperactive : hyperactive level of psychomotor Hypoactive : hypoactive level of psychomotor Mixed level of activity : มีlevel ปกติหรืออาจfluctuateได้
Major neurocognitive Disorder