MindMap Gallery แนวความคิดและวิวัฒนาการทางการจัดการ
แนวความคิดและวิวัฒนาการทางการจัดการ
Bad habits that destroy your Team and Product
Project Management Process
human resource management
External Environment influences on Apple
PRESENT-PROGRESSIVE-TENSE
Collaboration with KS
Time Management
Time Management Techniques
Macroproceso Produccion
Organizational Culture and Clan Control
แนวความคิดและ วิวัฒนาการทางการจัดการ
Henri Fayol
Management Functions
การวางแผน (Planning)
การจัดองค์การ (Organizing)
การสั่งการ (Directing)
การประสานงาน (Coordination)
การควบคุม (Controlling)
หลักการจัดการ 14 ข้อของ Fayol
การแบ่งงานกันทำ
อำนาจหน้าทีและความรับผิดชอบ
ระเบียบวินัย
เอกภาพในการบังคับบัญชา
เอกภาพในการอำนวยการ
ประโยชน์ส่วนบุคคลเป็ฯรองจากประโยชน์ส่วนรวม
ค่าตอบแทน
การรวมอำนาจ
การจัดสายบังคับบัญชา
การจัดลำดับ
ความเสมอภาค
ความมั่นคงในการทำงาน
ความคิดริเริ่ม
ความสามัคคี
Benchmarking
การวางแผน
การวิเคราะห์
การบูรณาการ
การปฏิบัติ
การเติบโตเต็มที่
Learning Organization
.Personnel Mastery: การครองตน (ใส่ใจพัฒนาตน)
Mental Model: โมเดลความคิดทัศนคต
Shared Vision: วิสัยทัศน์ร่วม
Team Learning: การเรียนรู้ร่วมกัน
System Thinking: การคิดเชิงระบบ
Agenda
ยุคก่อนการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ยุคก่อนปี ค.ศ.1880
คนตกงานอยู่ในอำนาจของหัวหน้า
ความสัมพันธ์เป็นนายกับบ่าว
ยุคการจัดการวิทยาศาสตร์
ปีค.ศ.1880-1980
หลักพื้นฐานของการจัดการ (Taylor)
ให้ความสำคัญด้านศาสตร์ไม่ใช่กฎที่ไม่แน่นอน
มีการประสานงานร่วมกันมากกว่าความขัดแย้ง
เน้นผลผลิตสูงสุดแทนที่จะจำกัดการผลิต
จัดให้มีการคัดเลือก ฝึกอบรม และการบรรจุคนงาน
มีการพัฒนาพนักงานให้มีความสามารถเท่าที่จะทำได้
บุคคลสำคัญที่สนับสนุน Taylor คือ Henry L.Gantt
ประดิษฐ์แผนผังเปรียบเทียบการทำงานที่เกิดขึ้นจริงกับแผนที่วางไว้
คิดแผนการจ่ายโบนัส
สนับสนุนให้ฝ่ายบริหารมีความรับผิดชอบในการฝึกอบรมคนงานให้มีความชำนาญ
ยุคการจัดการแบบแนวคิดมนุษยสัมพันธ์
ปีค.ศ.1930-1950
Elton Mayo
บิดาของการจัดการแบบมนุษยสัมพันธ์
หลักการประสานงาน
เริ่มจากการวางแผนและการจัดทำนโยบาย
ติดต่อโดยตรงกับผู้บังคับบัญชาที่รับผิดชอบ
เป็นความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันกับปัจจัยทุกด้าน
เป็นกระบวนการต่อเนื่อง
การประสานงานกลุ่ม
เน้นเรื่องการประสานงาน
ความเข้าใจซึ่งกันและกัน
บรรลุเป้าหมาย
Chester Irving Barnard
วัตถุประสงค์ส่วนบุคคล
ร่วมแรงร่วมใจประสิทธิภาพและประสิทธิผล
สร้างระบบความร่วมมือทำงานกันเป็นกลุ่มเพื่อบรรลุเป้าหมาย
ยุคการจัดการสมัยใหม่
แนวความคิดทางการจัดการ
Herbert A. Simon = บิดาแห่งทฤษฎีการตัดสินใจ
แนวความคิดด้านระบบ
การตัดสินใจเชิงระบบ
Total Quality Management
ทุกคนมีส่วนรวมในกิจกรรม
ลูกค้าต้องพึงพอใจ
พัฒนาและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
วงจร PDCA
Plan คือ การวางแผน
DO คือ การปฏิบัติตามแผน
Check คือ การตรวจสอบ
Act คือ การปรับปรุงการดำเนินการอย่างเหมาะสม หรือการจัดทำมาตรฐานใหม่ซึ่งถือเป็นพื้นฐานของการยกระดับคุณภาพ
การรื้อปรับระบบ
ค้นหากระบวนการที่ก่อให้เกิดปัญหาให้พบ
กระบวนการใดที่ก่อให้เกิดผลกระทบมากที่สุดต่อลูกค้าขององค์การ
พิจารณาถึงความเป็นไปได้ของความสำเร็จในการรื้อระบบ
ความล้มเหลวของการรื้อปรับระบบ
พิจารณาถึงความเป็นไปได้ของความสำเร็จในการรื้อปรับระบบ
ไม่ลงมือทำทันทีและอย่างรวดเร็ว
การจำกัดขอบเขตของปัญหาหรือกำหนดปัญหาที่จะให้แก้อย่างแคบๆ ไว้ล่วงหน้า
การรื้อปรับระบบจากข้างล่าง
การมอบหมายตำแหน่งผู้นำในการรื้อปรับระบบให้แก่คนที่ไม่เหมาะสมทำให้เกิดความล้มเหลวในระบบ
โครงการรื้อปรับระบบมากเกินไป
บริษัทไม่ถือว่าการรื้อปรับระบบเป็นภารกิจสำคัญอันดับแรก
เน้นการออกแบบกระบวนการ แต่ไม่นำไปสู่การปฏิบัติ
ไม่ยอมรับความเจ็บปวด