เครื่องกลึง Lather Machines

เครื่องกลึง Lather Machines1. จงบอกชนิดของเครื่องเครื่องกลึงมา 2 ชนิด2. จงบอกส่วนประกอบที่ส าคัญของเครื่องกลึงมา 5 ชนิด3. จงบอกอุปกรณ์ส าคัญที่น ามาใช้กับเครื่องกลึงมา 5 ชนิด4. จงอธิบายความปลอดภัยในการใช้เครื่องกลึง มา 5อย่าง5. จงบอกวิธีการบ ารุงรักษาเครื่องกลึงมา 5ข้อ1. เครื่องกลึงยันศูนย์2. เครื่องกลึงเทอเรต1. หัวจับ ท าหน้าที่จับชิ้นงานท าให้ท างานได้สะดวก หัวจับสามารถแบ่งได้ 2 ชนิด 1.1 หัวจับสามจับ หรือ หัวจับสามจับฟันพร้อม 1.2 หัวจับสี่จับฟันอิสระ สามารถจับงานได้รูปทรง ต่างๆ ได้2. หัวจับแม่เหล็ก ใช้ส าหรับจับงานที่บางๆ3. จานพา ใช้ร่วมกับยันศูนย์และห่วงพาเพื่อส่งก าลังให้ชิ้นงานหมุนส าหรับกลึงงาน1. ตรวจดูความพร้อมของเครื่องกลึงตลอดเวลา2. ก่อนใช้เครื่องกลึง ต้องท าการหยอดน้ ามันหล่อลื่น3. ทุกครั้งปรับเปลี่ยนความเร็ว ต้องหยุดเครื่องก่อนเปลี่ยน1. ฐานเครื่อง เป็นส่วนที่อยู่ล่างสุดของเครื่อง ปกติยึดติดกับพื้นโรงงาน ท าหน้าที่รองรับน้ าหนักทั้งหมดของเครื่องขนาดใหญ่ ท ามาจากเหล็กหล่อ2. แท่นเครื่อง หรือสะพาน เป็นส่วนที่ยึดติดอยู่บนฐานเครื่อง ท าด้วยเหล็กหล่อ ท าหน้าที่รองรับชุดหัวเครื่อง ชุดท้ายแท่น และชุดแท่นเลื่อน3. สภาพจิตใจและร่างกายที่พร้อมท างาน1. ผู้ปฏิบัติงานแต่งกายรัดกุม2. สวมแว่นตานิรภัย3. ชุดหัวเครื่องอยู่ตรงด้านซ้ายของเครื่อง ภายในประกอบด้วยชุดเฟืองทดใช้ส าหรับเปลี่ยนความเร็วรอบ และเปลี่ยนอัตราป้อนกลึง เพื่อส่งก าลังไปยังแกนเพลา และชุดขับเคลื่อนต่างๆ เพื่อกลึงอัตโนมัต4. แกนเพลาเครื่องกลึง มีลักษณะเป็นเพลากลม ภายในเป็นรูกลวง ท าหน้าที่ หมุนส่งก าลังหัวจับ และเป็นตัวประกอบกับหัวจับ สามารถประกอบได้ทั้ง สามจับ และสีจับ5. ชุดท้ายแท่น อยู่ตอนท้ายของแท่นเครื่อง สามารถเคลื่อนที่ไปมาได้บนแท่นเครื่อง ชุดท้ายแท่นประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนบนและส่วนล่าง ท าหน้าที่ประคองชิ้นงาน หรือจับชิ้นงานไม่ให้หนี้ศูนยเครื่องกลึงยันศูนย์เป็นเครื่องกลึงพื้นฐานที่ใช้กันอยู่ทั่วไปซึ่งมีราคาที่ถูกกว่าเครื่องกลึงแบบอื่นๆ และมีขนาดทั้งใหญ่และเหล็ก จัดว่าเป็นเครื่องกลึงธรรมดาเป็นเครื่องกลึงดัดแปลงมาจากเครื่องกลึงธรรมดา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้ท างานได้ดีมากขึ้น และสามารถท างานให้เสร็จในขบวนการท างานในครั้งเดียวตั้งแต่เริ่มต้นจนจบขั้นตอนสุดท้าย4. หน้าจาน ใช้ส าหรับจับยึดงานที่มีรูปทรงแปลกๆ หรือจับยึดชิ้นงานที่ใหญ่5. หน้าจาน ใช้ส าหรับจับยึดงานที่มีรูปทรงแปลกๆ หรือจับยึดชิ้นงานที่ใหญ่4. ไม่หยอกล้อกันขณะปฏิบัติงาน5. ปฏิบัติงานเพียงผู้เดียว4. การเลือกใช้ความเร็วรอบ อัตราป้อนกลึง ต้องเลือกให้เหมาะสมและป้อนกินอย่างเหมาะสม5. ถ่ายน้ ามันเครื่องตามระยะเวลาที่ก าหนด
78