MindMap Gallery ระบบสุขภาพเเห่งชาติ
这是一篇ระบบสุขภาพเเห่งชาติ的思维导图 สุขภาพ สุขภาวะ
Ear Infection
Skin Cancer Awareness
How to Prevent Cancer or Find It Early
Arguments for Managing Health and Safety
Access to Health Care
Stress and Disease
Theories in Health Behavior
Framework for Creative Mental Processes
Mental Health
Chest Pain
ระบบสุขภาพเเห่งชาติ
สุขภาพ สุขภาวะ
ทางกาย
มีปัจจัย 4 พอเพียง
ร่างกายเเข็งเเรง
ไม่ป่วยโดยไม่จำเป็น
ไม่พิการ
ไม่ตายก่อนวัยอันควร
เมื่อป่วย หายดี เเละเร็ว
เข้าถึงบริการ
ได้รับการดูเเลที่ดี
ทางใจ
จิตใจดี มีความสุข
ไม่เครียด
ไม่เจ็บป่วยทางจิตใจ
รู้จักคลายเครียดได้
ทางสังคม
สังคมพึ่งพา ช่วยเหลือเกื้อกูล
สิ่งแวดล้อม สภาพแวดล้อมดี
อยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข
อาชญากรรมความรุนแรงน้อย
นโยบายสาธารณะ ระบบต่าง ๆ ดี
มีเสมอภาค เป็นธรรม
ทางปัญญา(จิตวิญญาณ)
เข้าใจสรรพสิ่งอย่างเป็นจริง
จิตใจเปี่ยมสุข
เข้าถึงความดีงามถูกต้อง
จิตใจดี มีเมตตากรุณา
ความหมาย
"สุขภาพ" หมายถึง ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญาเเละทางสังคม เชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุล
"ระบบสุขภาพ" หมายถึง ระบบความสัมพันธ์ทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ"
"ระบบสาธารณสุข" หมายถึง เกี่ยวกับการจัดการที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพและการฟื้นฟูสมรรถภาพ (สารานุกรมสาธารณสุข. 2531)
"ระบบบริการสาธารณสุข" หมายถึง การบริการต่างๆอันกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพการป้องกัน การบริการและควบคุมโรคและปัจจัยที่คุกคามสุขภาพการตรวจวินิจฉัยและบำบัดสภาวะความเจ็บป่วยและการฟื้นฟูสมรรถภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน
สรุปแล้วระบบสุขภาพแห่งชาติ จึงหมายถึงระบบต่างๆ ที่ครอบคลุมการดำเนินงานด้านสุขภาพในทุกมิติ ส่วนระบบสาธารณสุขและระบบบริการสาธารณสุขเป็นส่วนหนึ่งของระบบสุขภาพแห่งชาติ
ความรอบรู้ด้านสุขภาพอนามัย
เข้าถึง ข้อมูลข่าวสาร
เข้าใจ ข้อมูลด้านสุขภาพและการบริการที่จำเป็น
การวิเคราะห์และตัดสินใจด้านสุขภาพ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการรอบรู้
ทักษะ แบบแผน วัฒนธรรม การสื่อสารของบุคลากรสุขภาพ
ความรู้ ความชัดเจนของข้อมูลสุขภาพ
การเปลี่ยนแปลงสังคม วัฒนธรรม คามถูกต้องของข้อมูลสุขภาพ
ลักษณะของระบบสุขภาพและความต้องการด้านสุขภาพ
ความจำเป็นด้านการรักษาและการส่งเสริมสุขภาพในสถานการณ์ต่างๆ
พรบ.สุขภาพเเห่งชาติ พ.ศ.2550
หมวดที่ 1 สิทธิเเละหน้าที่ด้านสุขภาพ 7 ข้อ
1.คนมีสิทธิ์ในการดำรงชีวิตในสิ่งแวดล้อมที่ดี
2.สตรี เด็ก คนพิการ ผู้สูงอายุ คนด้อยโอกาสและกลุ่มคนต่างๆได้รับบริการ ถูกต้อง เหมาะสม
3.เจ้าหน้าที่ต้องเเจ้งสิทธิ์การรักษาด้วยข้อมูลมากพอให้ผู้ป่วยตัดสินใจได้
4.เข้าร่วมงานวิจัย ต้องลงชื่อและปฏิเสธได้ตลอดเวลา
5.หากเกิดผลกระทบ ต่อประชาชน เจ้าหน้าที่ต้องเปิดเผยข้อมูล
6.ประชาชน มีสิทธิร้องขอให้มีสิทธิ์ร่วมในกระบวนการประเมินผล
7.ประชาชนมีสิทธิปฏิเสธการรักษา
หมวดที่ 2 คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
หมวดที่ 3 สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
หมวดที่ 4 สมัชซาสุขภาพ
หมวดที่ 5 ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 12 ข้อ
1.ปรัชญา แนวคิดระบบสุขภาพ
2.คุณลักษณะพึงประสงค์และเป้าหมายระบบสุขภาพ
3. การจัดการให้มีหลักประกันและความคุ้มครองสุขภาพ
4.การสร้างเสริมสุขภาพ
5.การป้องกันและควบคุมปัจจัยที่คุกคามสุขภาพ
6. การบริการสธารณสุขและการควบคุมคุณภาพ
7.ส่งเลริม สนับสนุน การใช้และพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือกอื่น
8. การคุ้มครองผู้บริโภค
9. การสร้างเสริมและเผยแพร่องค์ความรู้ด้านสุขภาพ
10.การเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ
11. การผลิตและพัฒนาบุคลากรด้านการสาธารณสุข
12. การเงิน การคลังสุขภาพ
หมวดที่ 6 บทกำหนดโทษ
ระบบสุขภาพเเบบพอเพียง
ผู้บริการให้ยึดคุณธรรมจริยธรรมตามมาตรฐาน
องค์กรบริการ ติดตาม ควบคุม ตรวจสอบ ประเมินผล
องค์กรสาธารณสุข พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการบริการทั้งทางสากลและภูมิปัญญาไทย
สถาบันการศึกษา ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม และการดูแลสุขภาพ
3 ห่วงเศรษฐกิจพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล ภูมิคุ้มกัน
3 เงื่อนไข คุณธรรม ความรู้หลักวิชา ชีวิต
4 มิติ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม
นางสาว สุภัทรา หนุนทันเจริญ 6451100514