MindMap Gallery จิตวิทยาการเรียนรู้
Mind Map จิตวิทยาการเรียนรู้ ปนัสยา ตรงชาติ จิตวิทยาการเรียนรู้ คือ จิตวิทยาที่ใช้ในการถ่ายทอดความรู้
Edited at 2022-02-06 11:47:03จิตวิทยาการเรียนรู้
คือ จิตวิทยาที่ใช้ในการถ่ายทอดความรู้
ความหมายการเรียนรู้ของนักการศึกษา
แบลร์และคณะ
การเรียนรู้ คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมโดยอาศัยประสบการณ์และพฤติกรรม ที่เปลี่ยนแปลงไปนั้น
กาเย่
การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงสมรรถภาพหรือความสามารถของบุคคลอันเนื่องจากสถานการณ์ที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อช่วยให้เกิดการเรียนรู้
ไคลน์
กระบวนการของประสบการณ์ที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤ
คอนบาค
การเรียนรู้ เป้นการแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลง อันเป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์ที่แต่ละบุคคลประสบมา
คิมเบิล
การเรียนรู้ เป็นการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างถาวรในพฤติกรรม อันเป็นผลมาจากการฝึกที่ได้รับการเสริมแรง
ฮิลการ์ดและเบาเวอร์
การเรียนรู้ เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อันเป้นผลมาจากประสบการณ์และการฝึก
พจนานุกรมของเวบสเตอร์
การเรียนรู้ คือ กระบวนการเพิ่มพูนและปรุงแต่งระบบความรู้ ทักษะ นิสัย หรือการแสดงออกต่างๆ อันมีผลมาจากสิ่งกระตุ้นอินทรีย์โดยผ่านประสบการณ์ การปฎิบัติหรือการฝึกฝน
ประดินันท์ อุปรมัย
การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงของบุคคลอันมีผลเนื่องมาจากการได้รับประสบการณ์โโยการเปลี่ยงแปลงนั้นเป็นเหตุทำให้บุคคลเผชิญสถานการณ์เดิมแตกต่างไปจากเดิม
สุรางค์โคว้ตระกูล
การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมซึ่งเนื่องมาจากประสบการณ์ที่คนเรามีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมหรือจากการฝึกหัด
ลักษณะสำคัยของกระบวนการเรียนรู้
การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสติปัญญาหรือกระบวนการทางสมอง
การเรียนรู้เป็นงานเฉพาะตนหรือประสบการณ์ส่วนตัว
การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสังคม
การเรียนรู้เป้นกระบวนการที่เกิดขึ้นได้ทั้งจากการคิดและการกระทำรวมทั้งการแก้ปัยหาและการศึกษาวิจัยต่างๆ
การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ตื่นตัว สนุก
การเรียนรู้อาสัยสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่
การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลง
การเรียนรู้เป้นกระบวนการต่อเนื่องตลอดชีวิต
การเรียนรู้ตามทฤษฎีของนักการศึกษา
บลูม
1.ความรู้ที่เกิดจากความจำ 2.ความเข้าใจ 3.การประยุกตื 4.การวิเคราะห์ 5.การสังเคราะห์ 6.การประเมินค่า
เมเยอร์
พฤติกรรม เงื่อนไข มาตรฐาน
บรูเนอร์
ความรู้ถูกสร้างหล่อหลอมโดยประสบการณ์ ผู้เรียนมีบทบาทรับผิดชอบในการเรียน เป็นผู้สร้างความหมาย อยู่ในสภาพแวดล้อที่เป็นจริง เลือกเนื้อหาและหิจกรรมเองที่สร้างในภาพรวม
ไทเลอร์
ความต่อเนื่อง การจัดช่วงลำดับจากง่ายไปยาก การบูรณาการ
การเย่-
1.การจูงใจ 2.การรับรู้เป้าหมาย 3.การปรุงแต่งสิ่งที่รับรู้ไว้เป้นความจำ 4.ความสามารถในการจำ 5.ความสามารถในการระลึกสิ่งที่เรียนรู้ไปแล้ว 6.การนำไปประยุกต์ใช้กับสิ่งที่เรียนรู้ไปแล้ว 7.การแสดงออกพฤษติกรรมที่เรียนรู้8. การแสดงผลการเรียนรู้กลับไปยังผู้เรียน
การเรียนรู้
กระบวนการเรียนรู้ คือ การดำเนินเป็นขั้นตอนหรือวิธีการที่ช่วยให้บุคคลเกิดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ ได้แก่ ความรู้ความเข้าใจ ความสามารถการกระทำ การใช้ทักษะกระบวนการ ความรู้สึกเป็นผลที่เกิดจากกระบวนการเรียนรู้
การเรียนรู้ คือ กระบวนการที่ทำให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความคิด เป็นพื้นฐานการดำเนินชีวิต การศึกษาถือเป็นปัจจัยสำคัญ
แนวคิดทางปรัชญา
กลุ่มจิตนิยม เชื่อว่าวิญญาณเป็นความแท้จริงที่สุด
กลุ่มสัจนิยมวัตถุเป็นความจริงแท้สุด
กลุ่มจิตนิยมมนุษย์เป็นสิ่งที่เคลื่อนไหวอยู่เสมอ
จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้
บลูมและคณะ มุ่งพัฒนาผู้เรียนใน 3 ด้าน
ด้านพุทธนิสัย(K)
ด้านทักษะพิสัย(P)
ด้านจิตพิสัย(A)
จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้
บลูมและคณะ มุ่งพัฒนาผู้เรียนใน 3 ด้าน
ด้านพุทธนิสัย(K)
ด้านทักษะพิสัย(P)
ด้านจิตพิสัย(A)
องค์ประกอบของการเรียนรู้
ดอลลาร์คและมิลเลอร์ เสนอว่าการเรียนรู้ มี 4 องค์ประกอบสำคัญ
1.แรงขับ 2. สิ่งเร้า 3. การตอบสนอง 4.การเสริมแรง
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีกลุ่มพุทธิปัญญานิยม
ความรู้ความเข้าใจในการแก้ปัญหาโดยการจัดระบบการรับรู้แล้วเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม
แนวคิดของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึม Constructivism
Social Constructivism ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น (ผู้ใหญ่หรือเพื่อน)
Cognitive Constructivism ผู้เรียนเป็นผู้กระทำ และเป็นผู้สร้างความรู้ขึ้นในใจเอง
ทฤษฎีการสร้างความรู้(piaget กับ vygotsky)
ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายเดวิด ออซูเบล
กระบวนการ
การสร้างมโนมติ
การดูดซึมมโนมติ
การเรียนแบบท่องจำ
การเชื่อมโยงสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่รู้มาก่อน
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบ บรูเนอร์
ขั้นตอนพัฒนา 3ขั้นตอน
ผู้เรียนสามารถถ่ายทอดประสบการณ์ต่างๆโดยใช้สัญลักษณ์หรือภาษา เข้าใจสิ่งที่เป็นนามธรรม
ถ่ายทอดประสบการณ์ต่างๆด้วยการมีภาพในใจ
ลงมือทำด้วยตนเอง
ครูสามารถช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความพร้อมได้ ไม่ต้องรอเวลา
ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ คลอสเมียร์
ความรู้ การสะสมความรู้ การระลึกได้
ทฤษฎีพหุปัญญา การ์ดเนอร์
ปัญญาด้านรู้จักตนเอง ปัญญาด้านภาษา ปัยญาด้านตรรกและตณิตศาสตร์ ปัญญาด้านมิติสัมพันธ์ ปัญญาด้านรอบรู้ธรรมชาติ ปัญญาด้านดนตรี ปัญญาการเคลื่อนไหว ปัญญาด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ
พึ่งพาอาศัยกัน
ปรึกษากันอย่างใกล้ชิด
สมาชิกมีบทบาทและหน้าที่
ทักษะการสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
มีการวิเคราะหืกระบวนการกลุ่ม
ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
การตอบสนองที่เป็นไปโดยอัตโนมัติ เมื่อนำสิ่งเร้าใหม่มาควบคู่กับสิ่งเร้าเดิม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
การตอบสนองที่เป็นไปโดยอัตโนมัติ เมื่อนำสิ่งเร้าใหม่มาควบคู่กับสิ่งเร้าเดิม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำของสกินเนอร์
การเสริมแรง การลงโทษ
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอนร์นไดค์
กฎแห่งการฝึกหัด
กฎแห่งผล
กฎแห่งความพร้อม
หลักการเรียนรู้เพื่อการจัดการการสอนที่เน้นผู้เรียนเป้นศูนย์กลาง
1.สร้างความรู้ 2. มีส่วนร่วมในการเรียน 3.มีปฎิสัมพันธ์ 4.กระบวนการทางปัญญา 5.กระบวนการทางสังคม 6.นำความรู้ไปใช้