จิตวิทยา(Psychology)

จิตวิทยา(Psychology)การศึกษาเกี่ยวกับเรื่องของจิตใจ
1.
กลุ่มโครงสร้างทางจิต
ผู้นำกลุ่ม
แนวคิดสำคัญ
วิลเฮล์ม วุ้นท์ (wilhelm wundt) เป็นบิดาแห่งจิตวิทยาการทดลอง
1.การสัมผัส (Sensation) เป็นปฏิกิริยาที่เกิดจากสิ่งเร้าภายนอกมาสัมผัสประสาทสัมผัสทั้ง5
2.ความรู้สึก (Feeling) เป็นสิ่งที่เกิดจากการมีประสบการณ์ต่างๆ
2.
กลุ่มหน้าที่จิต
ผู้นำกลุ่ม
แนวคิดสำคัญ
วิธีการ
จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) และ วิลเลี่ยม เจมส์ (William James)
ดิวอี้ : ประสบการณ์เป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้คนเราปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อม และการเรียนรู้เกิดจากการกระทำ (Learning by doing)
เจมส์ : มนุษย์ปรับตัวเพื่อให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม อาศัยหน้าที่จิตซึ่งเรียกว่า จิตสำนึก
การสังเกตุ (Observation)
3.
กลุ่มจิตวิเคราะห์
ผู้นำกลุ่ม
แนวคิดสำคัญ
วิธีการ
5.
กลุ่มเกสตัลท์
ผู้นำกลุ่ม
แนวคิดสำคัญ
วิธีการ
6.
กลุ่มมนุษนิยม
ผู้นำกลุ่ม
7.
กลุ่มปัญญาสังคม
4.
กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ผู้นำกลุ่ม
แนวคิดสำคัญ
สรุปแนวคิดกลุ่มนี้
วิธีการ
3.มโนภาพ (Images) เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของคนเรา เป็นภาพที่เรานึกคิดว่าสิ่งเหล่านั้นเป็นอย่างไร
การสังเกตุภายใน (lntrospection) เป็นการมองตนเองโดยมองจิตของตนเองให้บรรยายประสบการณ์ที่ตนเองได้สัมผัส รู้สึก และภาพในความคิดของตนเอง
1.ศึกษาการแสดงออกในสถานการณ์ต่างๆ และบันทึก
2.การแสดงออกเกี่ยวข้องกับประสบการณ์ ดังนั้นพฤติกรรมของคนเราจึงแตกต่างกันออกไป
ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud)
ระดับของจิตมี 3 ระดับ
การเชื่องโยงเสรี โดยให้บุคคลได้ระบายความรู้สึกหรืออารมณ์ต่างๆ ออกมาตามที่เขาอยากจะพูด อยากจะเล่าอย่างสบายใจตามที่จะนึกได้
โครงสร้างบุคลิกภาพ ประกอบไปด้วย
1.จิตสำนึก เป็นการกระทำที่เรารู้ตัวและคนอื่นก็รู้
1.อิด (ld) หลักแห่งความพึงพอใจ สัญชาตญาณ ความต้องการ อยากมี อยากได้ อยากเป็น
2.จิตกึ่งสำนึก เป็นสิ่งที่เราคิดและพร้อมที่จะทำ
3.จิตใต้สำนึก เป็นสิ่งที่อยู่ลึกภายในจิตใจ จะแสดงออกเมื่อถึงภาวะคับขันหรือแสดงออกโดยไม่รู้ตัว
2.อีโก้ (Ego) หลักแห่งความจริง จิตที่รู้ตัว ใช้เหตุผล ควบคุมพฤติกรรมให้เหมาะสม ทำในสิ่งที่สังคมยอมรับ เช่น กฎหมาย กฎจราจร
3.ซุปเปอร์อีโก้ (Spuer-Ego) หลักแห่งคุณธรรม
จอห์น บี วัตสัน (John B. Watson) บิดาแห่งพฤติกรรมนิยม อีวาน พาฟลอฟ (lvan P. Pavlov) และ สกินเนอร์ (Burrhur F. Skinner)
วัตสัน : มีชื่อเสียงในการรักษาโรคโฟเบีย ทดลองกับเด็กให้เกิดความกลัว และรักษาให้หายจากการกลัวได้
พาฟลอฟ : ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค เป็นการตอบสนองปฏิกิริยาสะท้อนต่ออินทรีย์ต่อสิ่งเร้า ทดลองการวางเงื่อนไขให้สุนัขเกิดน้ำลายไหลออกมาเมื่อได้ยินเสียงกระดิ่ง
สกินเนอร์ : ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ เมื่อลงมือกระทำจึงจะได้สิ่งตอบแทน รางวัล ทดลองวางเงื่อนไข กับหนูและนกพิราบกดคานแล้วได้อาหาร
พฤติกรรมเกิดจากการเรียนรู้ ถ้ารู้สาเหตุเราก็สามารถควบคุม หรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
แมกซ์ เวอร์ไทเมอร์ (Max Wertheimer) เคอร์ท คอฟกา (Kurt Koffka)
เคอร์ท เลวิน (Kurt Lewin)
ศึกษาภาพรวมก่อน แล้วจึงศึกษาส่วนย่อย โดยการเรียนรู้เป็นกระบวนการรับรู้และการแปลความหมายของสถานการณ์ทั้งหมด
เป็นภาพรวม และการรับรู้ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ส่วนบุคคล
การแปลความหมายของการรับรู้ และการหยั่งเห็น
คาร์ลโรเจอร์ส(Carl Rogers) (Carl Rogers) และอับราฮัมมาสโลว์ (Abraham Maslow)
แนวคิดสำคัญ
วิธีการ
ให้ความสาคัญของความเป็นมนุษย์ มองมนุษย์ในท่าทีที่ดีงามว่ามนุษย์ทุกคนล้วนมีคุณค่าและศักดิ์ศรีในความเป็นมนุษย์และล้วนอยากเป็นคนดีได้ด้วยตนเอง จึงไม่จาเป็นต้องใช้วิธีการบังคับหรือควบคุมใด เพราะในที่สุดมนุษย์จะทาสิ่งที่ดีด้วยตนเอง โดยเป้าหมายที่สาคัญของมนุษย์คือการพัฒนาศักยภาพของตนให้ถึงจุดสูงสุด รู้คุณค่าแห่งตน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ควบคุมตนเองได้ และมุ่งใช้ศักยภาพของตนเพื่อสร้างสรรค์ความมีศักดิ์ศรีและคุณค่าของตน
ให้บุคคลตระหนักในคุณค่าของตนเอง
ผู้นากลุ่ม
แนวคิดสาคัญ
วิธีการ
อัลเบิร์ตแบนดูรา (Albert Bandura)
กระบวนการทางสมองเป็นสิ่งที่เกี่ยวกับการรับรู้ การจา การเรียนรู้ เน้นที่กระบวนการคิดและวิธีการเรียนรู้ โดยการสังเกตจากตัวแบบ การกากับตนเอง และการรับรู้ความสามารถของตนเอง
การสังเกต การกากับตนเอง และการรับรู้ความสามารถของตนเอง
151